โปรแกรมสำหรับงานวิจัย STATA คืออะไร 

รับวิเคราะห์ข้อมูล,รับวิเคราะห์SPSS, รับวิเคราะห์ EVIEW, รับวิเคราะห์ SAS, รับวิเคราะห์ STATA , รับวิเคราะห์ AMOS และ LISREL, เทคนิคการทำวิจัย รับทำวิจัย จ้างทำวิจัย ปรึกษาการรับทำวิทยานิพนธ์ ปรึกษาการทำดุษฎีนิพนธ์ รับวิเคราะห์ข้อมูล SPSS EVIEW STATA AMOS LISREL / การใช้งาน STATA, คู่มือ STATA, รับทำวิจัย STATA, รับวิเคราะห์ STATA, รับวิเคราะห์ข้อมูล STATA, โปรแกรม STATA, โปรแกรมSTATA โปรแกรม STATA กับการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่องานวิจัย  Stata/SE 17 Government License เป็นโปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูลที่จัดอยู่ในประเภท โปรแกรมสำหรับองค์กร (Corporate Software) ทั้งองค์กรธุรกิจ และองค์กรรัฐ   โปรแกรมStata ถูกออกแบบและพัฒนาขึ้นสำหรับใช้วิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล สามารถวิเคราะห์ข้อมูลในรูปตัวเลขสถิติทุกประเภท ทั้งข้อมูลจากการทดลอง […]

3 เทคนิคเขียนโครงร่างงานวิจัยง่ายๆ

องค์ประกอบของโครงร่างการวิจัย โครงร่างการวิจัย ควรมีองคประกอบสำคัญดังนี้ : 1. ชื่อเรื่อง 2. ความสําคัญและที่มาของปัญหาการวิจัย 3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 4. คําถามของการวิจัย 5. ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 6. การทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของ้ 7. สมมติภาพและกรอบแนวคิด 8. ขอบเขตของการวิจัย 9. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย 10. นิยามศัพท์ 11. ระเบียบวิธีดําเนินการวิจัย 12. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 13. ระยะเวลาทําการวิจัย 14. รายละเอียดงบประมาณค่าใช้จ่ายในการวิจัย 15. บรรณนุกรม 16. ภาคผนวก 17. ประวัติของการดําเนินการวิจัย *ไม่จําเป็นต้องมีทุกโครงการ การเขียนโครงร่างงานวิจัย เป็นสิ่งที่ผู้วิจัยมือใหม่จำเป็นที่จะต้องเขียน เพื่อนำเสนอ concept ของการทำการศึกษาวิจัย โดยเฉพาะการทำการศึกษาวิจัยที่มีรูปแบบของงานวิจัยที่เป็นเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพที่จะใช้ในการศึกษาวิจัย ทั้งนี้การที่จะเขียนโครงร่างงานวิจัยให้ง่าย วันนี้เรามี  3 เทคนิคเขียนโครงร่างงานวิจัยง่ายๆ มีขั้นตอนดังต่อไปนี้  1. รู้จักรูปแบบของการทำวิจัย รูปแบบของการวิจัยเป็นสิ่งที่กำหนดทิศทางในการที่จะทำการศึกษาวิจัยของผู้วิจัยหัวข้อวิจัยดังกล่าว โดยเฉพาะสิ่งที่นิยมในปัจจุบัน คือ รูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณหรือรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพที่มักจะได้รับความนิยมในการที่จะเป็นรูปแบบหลักของการศึกษาวิจัย  โดยเฉพาะรูปแบบงานวิจัยที่เป็นรูปแบบงานวิจัยเชิงปริมาณ […]

18 ฐานข้อมูลงานวิจัย อยู่ที่ไหนก็ค้นหาได้

1. ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University Theses) . ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์แบบออนไลน์บนเมนู TU Digital Collection ประกอบด้วยวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท – เอก มากกว่า 2 หมื่นรายการ ให้บริการในรูปแบบ Open Access ดาวน์โหลดวิทยานิพนธ์ได้แม้จะอยู่ภายนอกมหาวิทยาลัย >> https://digital.library.tu.ac.th —————— 2. Thai Digital Collection (TDC) I สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา . แหล่งรวมวิทยานิพนธ์ และงานวิจัย ในรูปแบบเอกสารฉบับเต็ม จากมหาวิทยาลัยและหน่วยงานต่าง ๆ ในประเทศไทย . >> http://tdc.thailis.or.th/tdc/basic.php ** ใช้งานนอกเครือข่ายมหาวิทยาลัย ต้องสมัครสมาชิกก่อนนะจ๊ะ ———————- 3. Research Gateway Common Service สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) . แพลตฟอร์มเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลงานวิจัยจากแหล่งต่าง ๆ ภายในประเทศ เช่น คลังข้อมูลงานวิจัยไทย (TNRR) ศูนย์ข้อมูลการวิจัยดิจิทัล (DRIC) รวมทั้งมหาวิทยาลัยต่าง ๆ (แต่ไม่ได้มี Full Text ทุกรายการนะ) . >> http://www.researchgateway.in.th **ก่อนใช้งานต้องสมัครสมาชิก ———————- […]

15 เทคนิค พัฒนาความคิดสร้างสรรค์

ใครๆก็อยากมีความคิดสร้างสรรค์กันทั้งนั้น เพราะความคิดสร้างสรรค์ คือ ความสามารถที่จะประมวล ข้อมูลผ่านทักษะการคิด เพื่อนำมาแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิผลในแนวทางใหม่ๆ อย่างหลากหลายไม่มีที่สิ้นสุด มันไม่ใช่ทักษะที่มีจำกัดเฉพาะเหล่าศิลปิน นักดนตรี หรือนักเขียน แต่เป็นทักษะที่เป็นประโยชน์ต่อผู้คนทุกสาขาอาชีพ และคุณก็สามารถพัฒนาทักษะนี้ให้ตนเองได้เช่นกัน ลองนำ 15 เทคนิคต่อไปนี้ไปปฏิบัติ แล้วคุณจะกลายเป็น บุคคลใหม่ที่เต็มเปี่ยมไปด้วยพลังความคิดสร้างสรรค์ 1. ตั้งเป้าหมาย ขั้นตอนแรกคือ มีความตั้งใจที่จะพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ไม่ผัดวันประกันพรุ่ง มีเป้าหมายที่แน่วแน่ พร้อมขอความช่วยเหลือจากผู้อื่น และแบ่งเวลาในแต่ละวันเพื่อพัฒนาทักษะและทุ่มเทให้กับงานสร้างสรรค์ที่คุณสนใจ เพราะคุณไม่สามารถพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ให้เกิดขึ้นได้ ถ้าไม่มีเวลาให้กับมัน 2. ให้รางวัลความอยากรู้อยากเห็น อุปสรรคอย่างหนึ่งที่พบได้บ่อยในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ คือ การเข้าใจว่า ความอยากรู้อยากเห็นเป็นเรื่องการทำตามใจตัวเอง แต่แทนที่จะตำหนิตัวเองเมื่อคุณอยากรู้อยากเห็นในบางเรื่อง คุณควรให้รางวัลตัวเองมากกว่า ลองให้โอกาสตัวคุณเองในการแสวงหาความคิดเห็นใหม่ๆ 3. เต็มใจรับความเสี่ยง ในการเสริมสร้างทักษะความคิดสร้างสรรค์ คุณต้องยอมรับความเสี่ยงให้ได้ เพื่อพัฒนาความสามารถให้ก้าวหน้า แม้ว่าไม่อาจทำสำเร็จได้ทุกครั้ง แต่อย่างน้อย ก็ช่วยพัฒนาและเสริมสร้างทักษะที่จะนำไปใช้ได้ในอนาคต 4. สร้างความมั่นใจให้ตัวเอง ความไม่เชื่อมั่นในความสามารถของตัวเอง อาจทำลายความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ได้ นั่นคือเหตุผลที่ว่า ทำไมการสร้างความมั่นใจให้ตนเองจึงเป็นเรื่องสำคัญ จงชื่นชมความเพียรพยายาม และอย่าลืมให้รางวัลตนเองเมื่อทำสำเร็จ เพราะการให้รางวัลตัวเองเป็นเรื่องสำคัญ มันเป็นการพัฒนาแรงจูงใจภายในตัวเอง 5. ขจัดทัศนคติด้านลบ มีการวิจัยที่ระบุว่า ความรู้สึกนึกคิดด้านบวกสามารถ เพิ่มพลังความคิดสร้างสรรค์ได้ ถ้าคุณกำลังทำงานที่ต้องอาศัยความคิดริเริ่มหรือระดมความคิดละก็ ต้องสร้างบรรยากาศโดยรอบให้รื่นรมย์ เน้นการขจัดความคิดด้านลบหรือการตำหนิตัวเอง […]