3 เทคนิคเขียนโครงร่างงานวิจัยง่ายๆ

องค์ประกอบของโครงร่างการวิจัย โครงร่างการวิจัย ควรมีองคประกอบสำคัญดังนี้ :

1. ชื่อเรื่อง

2. ความสําคัญและที่มาของปัญหาการวิจัย

3. วัตถุประสงค์ของการวิจัย

4. คําถามของการวิจัย

5. ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

6. การทบทวนเอกสารที่เกี่ยวของ้

7. สมมติภาพและกรอบแนวคิด

8. ขอบเขตของการวิจัย

9. ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย

10. นิยามศัพท์

11. ระเบียบวิธีดําเนินการวิจัย

12. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

13. ระยะเวลาทําการวิจัย

14. รายละเอียดงบประมาณค่าใช้จ่ายในการวิจัย

15. บรรณนุกรม

16. ภาคผนวก

17. ประวัติของการดําเนินการวิจัย

*ไม่จําเป็นต้องมีทุกโครงการ

การเขียนโครงร่างงานวิจัย เป็นสิ่งที่ผู้วิจัยมือใหม่จำเป็นที่จะต้องเขียน เพื่อนำเสนอ concept ของการทำการศึกษาวิจัย โดยเฉพาะการทำการศึกษาวิจัยที่มีรูปแบบของงานวิจัยที่เป็นเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพที่จะใช้ในการศึกษาวิจัย ทั้งนี้การที่จะเขียนโครงร่างงานวิจัยให้ง่าย วันนี้เรามี  3 เทคนิคเขียนโครงร่างงานวิจัยง่ายๆ มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ 

1. รู้จักรูปแบบของการทำวิจัย

รูปแบบของการวิจัยเป็นสิ่งที่กำหนดทิศทางในการที่จะทำการศึกษาวิจัยของผู้วิจัยหัวข้อวิจัยดังกล่าว โดยเฉพาะสิ่งที่นิยมในปัจจุบัน คือ รูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณหรือรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพที่มักจะได้รับความนิยมในการที่จะเป็นรูปแบบหลักของการศึกษาวิจัย 

โดยเฉพาะรูปแบบงานวิจัยที่เป็นรูปแบบงานวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งปัจจุบันได้รับความนิยมมากขึ้นเป็นอย่างมาก เนื่องจากว่าการทำวิจัยเชิงปริมาณ ส่วนใหญ่แล้วจะใช้โปรแกรมสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 

ซึ่งนำเสนอผลลัพธ์เป็นรูปแบบของกราฟตัวเลขหรือสถิติที่สามารถอ้างอิง หรือนำเสนอได้อย่างเข้าใจง่ายกว่านำเสนอเป็นรูปแบบงานวิจัยเชิงคุณภาพที่เป็นเนื้อหาทั้งหมดที่ขาดความน่าสนใจ 

อาจจะกล่าวได้ว่าการนำเสนอรูปแบบงานวิจัยเชิงปริมาณในปัจจุบัน สามารถทำให้เกิดการสื่อสารที่เข้าถึงได้ง่ายกว่า จึงได้รับความนิยมในปัจจุบัน

ดังนั้นหากท่านต้องการเขียนโครงร่างงานวิจัย จำเป็นที่จะต้องนึกถึงรูปแบบของการวิจัย ว่า งานวิจัยของท่านนั้น ควรจะเป็นรูปแบบงานวิจัยเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพ เพื่อให้เหมาะสมกับการเขียนโครงร่างและกำหนดขอบเขตที่เกี่ยวข้องในการเขียนโครงร่างอย่างเหมาะสมต่อไป

2. รู้จักแหล่งข้อมูลที่จะทำมาใช้ในการเขียนโครงร่าง

การรู้จักแหล่งข้อมูลที่จะนำมาใช้ในการเขียนเค้าโครงร่าง เป็นสิ่งที่ผู้วิจัยมือใหม่จำเป็นที่จะต้องกำหนดขอบเขตก่อนเลยว่าแหล่งข้อมูลที่จะใช้ในการวิจัยนั้นจะมาจากแหล่งข้อมูลใด เช่น ห้องสมุด หรือแหล่งข้อมูลฐานข้อมูลที่เป็นวิทยานิพนธ์วิจัยออนไลน์ที่มหาวิทยาลัย หรือสถาบัน หรือศูนย์การวิจัยต่างๆมีเผยแพร่ทางออนไลน์

ซึ่งถ้าหากท่านสามารถกำหนดขอบเขตได้แล้วว่าแหล่งข้อมูลใดเป็นแหล่งข้อมูลหลักในการที่จะศึกษาค้นคว้าในการที่จะใช้เขียนโครงร่างงานวิจัยได้แล้ว จะทำให้ท่านรู้ว่าควรจะโฟกัสเป็นที่แหล่งข้อมูลใด และใช้เทคนิคใดในการสืบค้นที่เหมาะสมกับการนำเนื้อหามาเขียนโครงร่างการวิจัยได้อย่างไร

โดยเฉพาะปัจจุบันนั้นมีการนิยมเป็นอย่างมาก ในการที่จะนำแหล่งข้อมูลออนไลน์มาใช้ในการสืบค้นข้อมูล เพื่อเขียนประกอบการเขียนโครงร่างงานวิจัย ซึ่งเป็นสิ่งที่ทำให้สะดวก และประหยัดเวลามากกว่าที่จะต้องเข้าไปในห้องสมุด เพื่อนำข้อมูลมาใช้การเขียนโครงร่าง  

3. รู้จักประชากรและกลุ่มตัวอย่าง

การเขียนโครงร่างงานวิจัยที่ดี จะต้องรู้ว่ากลุ่มประชากรและกลุ่มตัวอย่างของการศึกษาครั้งนี้นั้น คือ ใครและอยู่ที่ไหน เพื่อที่จะกำหนดได้อย่างชัดเจนว่ากลุ่มตัวอย่างนี้จะให้ความร่วมมือในการที่จะตอบแบบสอบถามของเราหรือไม่ 

เนื่องจากว่าปัจจุบันการเข้าถึงกลุ่มตัวอย่าง ล้วนแล้วแต่มีความลำบากในการที่จะขอความร่วมมือในการตอบแบบสอบถาม หรือตอบแบบสัมภาษณ์

ซึ่งถ้าท่านไม่สามารถทราบได้ว่ากลุ่มประชากร และกลุ่มตัวอย่างของท่านเป็นใคร ก็จะทำให้ท่านไม่รู้ว่าวิธีการที่จะเข้าถึงประชากร และกลุ่มตัวอย่างของท่านนั้นควรวิธีอย่างไร และจะไม่สามารถทราบกำหนดขอบเขตจำนวนที่แน่นอนได้ว่าควรจะข้อความร่วมมือในการเข้าถึงกลุ่มตัวอย่างของท่านได้อย่างไร

สำหรับเทคนิค 3 ขั้นตอนที่กล่าวไปข้างต้นนี้ เป็นสิ่งที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการเขียนโครงร่างงานวิจัยของท่านให้ดียิ่งขึ้นได้

Credit: https://bit.ly/3SFpemR

#เรียนวิจัย #รับติวสอบ #รับปรึกษางานวิจัย #ทำdissertation #ทำthesis #ทำวิทยานิพนธ์ #ทำวิทยานิพนธ์ปตรี #ทำวิทยานิพนธ์ปโท #ทำวิทยานิพนธ์ปเอก #สอนโปรแกรมSPSS #รับทำงานวิจัย #ที่ปรึกษางานวิจัย #รับทำดุษฎีนิพนธ์ #รับติววิทยานิพนธ์ #รับติวธีสิส #รับติวสารนิพนธ์ #รับติววิจัย #รับติวงานวิจัย #รับสอนวิทยานิพนธ์ #รับสอนธีสิส #รับสอนสารนิพนธ์ #รับสอนวิจัย #รับสอนงานวิจัย #รับปรึกษาวิทยานิพนธ์ #รับปรึกษาธีสิส #รับปรึกษาสารนิพนธ์ #รับปรึกษาวิจัย #รับปรึกษางานวิจัย #รับติววิทยานิพนธ์ปตรี #รับติววิทยานิพนธ์ปโท #รับติววิทยานิพนธ์ปเอก #รับสอนวิทยานิพนธ์ปตรี #รับสอนวิทยานิพนธ์ปโท #รับสอนวิทยานิพนธ์ปเอก #รับปรึกษาวิทยานิพนธ์ปตรี #รับปรึกษาวิทยานิพนธ์ปโท #รับปรึกษาวิทยานิพนธ์ปเอก #สอนทำวิจัย ##รับสอนดุษฎีนิพนธ์ #รับติวดุษฎีนิพนธ์ #รับปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ #ปรึกษาวิทยานิพนธ์ #ปรึกษาวิจัย #ปรึกษางานวิจัย #ทำวิจัยปโท #phdthesis #หัวข้อวิทยานิพนธ์ #รับทำdissertation #บริษัทรับทำวิจัย #รับเขียนบทความวิชาการ #thesiswriter #spssราคา #ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ #ทำวิจัยพยาบาล #รับปรึกษาวิจัย #ราคารับทำงานวิจัย

Share:

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on pinterest
Pinterest
Share on linkedin
LinkedIn

ขอคำปรึกษา

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

Table of Contents

On Key

Related Posts

วิจัยเผย : ความเครียดก่อโรคหัวใจสูงและเสี่ยงกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง

วิจัยเผย : ความเครียดก่อโรคหัวใจสูงและเสี่ยงกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง

จากการศึกษาของงานวิจัยในวารสารวิชาการด้านโรคหัวใจของยุโรป ยูโรเปียน ฮาร์ท เจอร์นัล ผลการวิจัยระบุว่าคนอายุต่ำกว่า 50 ปีลงมาซึ่งระบุว่างานของตัวเองเป็นงานที่เครียดมีความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจสูงกว่าคนที่ระบุว่างานที่ทำอยู่ไม่เครียดถึง 70% นอกจากการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลซึ่งแสดงถึงความรู้สึกของกลุ่มตัวอย่างต่องานของพวกเขาแล้วนักวิจัยยังได้ทำการตรวจวัดอัตราการเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต และปริมาณฮอร์โมนความเครียดหรือ ฮอร์โมนชื่อคอร์ติซอล (cortisol)  จากตัวอย่างเลือดด้วยพบว่าความเครียดยังไปมีผลขัดขวางการขับฮอร์โมนของส่วนของระบบนิวโรเอนโดคริน (neuroendocrine system) จนทำให้ร่างกายมีการขับฮอร์เครียด หรือคอร์ติซอล ออกมาในตอนเช้าในระดับที่สูงกว่าปกติด้วย ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรงจากความเครียด หรือ Broken Heart Syndrome พบมากในหญิงวัยกลางคน

งานวิจัยเผย : แม่เคยมีแฟนมาแล้วกี่คน ลูกก็จะมีแฟนจำนวนพอกันกับแม่

งานวิจัยเผย : แม่เคยมีแฟนมาแล้วกี่คน ลูกก็จะมีแฟนจำนวนพอกันกับแม่

จากการศึกษาของ Ohio State University พบว่าแม่อาจส่งผ่านบุคลิกภาพหรือทักษะด้านความสัมพันธ์บางอย่างจากรุ่นสู่รุ่น โดย Dr.Claire Kamp Dush ผู้ริเริ่มการศึกษานี้กล่าวว่า แม่ๆ แต่ละคนมีลักษณะนิสัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อการแต่งงานและความสัมพันธ์ ซึ่งลักษณะนิสัยเหล่านั้น จะกลายเป็นมรดกส่งต่อถึงรุ่นลูก โดยอาจเป็นตัวกำหนดว่าลูกจะได้แต่งงานช้าหรือเร็ว และมีความสัมพันธ์ที่มั่นคงหรือไม่  . ใครเคยคุยเรื่องความรักกับแม่บ้าง แล้วเคยนึกสงสัยรึเปล่า ว่าแม่ของเราเคยมีแฟนมาแล้วกี่คน? รู้ไหมว่าถ้าลองถามดูดีๆ อาจพบว่า จำนวนแฟนที่แม่เคยมี นั้นพอๆ

งานวิจัยเผย : ความสัมพันธ์ของคู่รักส่งผลต่อ ‘สุขภาพ’

งานวิจัยเผย : ความสัมพันธ์ของคู่รักส่งผลต่อ ‘สุขภาพ’

จากการศึกษาของทีมนักวิจัย มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ทำการศึกษาถึงพลวัตรของความสัมพันธ์ระยะยาว ผ่านวิธีคิดเชิงพื้นที่สัมพันธ์ (Spatial Proximity) และก็ค้นพบว่า เมื่อคู่รักหรือคู่แต่งงานนั้นมีความใกล้ชิดกัน อัตราการเต้นของหัวใจของพวกเขาจะประสานเข้าหากันในรูปแบบที่มีความซับซ้อน ตามแต่การปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน ไบรอัน โอกอลสกี้ รองศาสตราจารย์จากแผนกการพัฒนามนุษย์และครอบครัวศึกษา มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ ระบุว่า นักวิจัยด้านความสัมพันธ์มักจะถามผู้คนว่าชีวิตเขาเป็นอย่างไรบ้าง และมักคิดว่าผู้คนเหล่านั้นจะสามารถจดจำหรือให้คำตอบได้อย่างลึกซึ้ง แต่กับผู้คนที่ใช้ชีวิตคู่อยู่ด้วยกันมานาน 30 – 40 ปี เมื่อถามถึงเรื่องเหล่านี้หรือพวกคำถามว่าพึงพอใจกับชีวิตคู่ขนาดไหน พวกเขามักจะหัวเราะใส่เสมอ

งานวิจัยเผย : อากาศหนาวทำให้อ้วนขึ้น

งานวิจัยเผย : อากาศหนาวทำให้อ้วนขึ้น

จากการศึกษาโดย พญ.ธิดากานต์ รุจิพัฒนกุล หรือ “หมอผิง” ผู้เชี่ยวชาญด้านศาสตร์การชะลอวัยและกูรูด้านสุขภาพบนโซเชียลเน็ตเวิร์ก พบว่า อากาศหนาวอาจส่งผลให้คนเราหิวเก่งขึ้น โดยเฉพาะอาหารแคลอรี่สูง วิจัยในอเมริกาพบว่าคนน้ำหนักขึ้นเฉลี่ย 0.5-1 กก. ในฤดูหนาว เป็นผลจากกินเพิ่มขึ้นและออกกำลังน้อยลง . ผลกระทบที่เกิดต่อร่างกายจากอากาศหนาว ซึ่งอากาศที่หนาวเย็นอาจทำให้อุณหภูมิภายในร่างกายเปลี่ยนแปลงไป จนอาจเกิดความผิดปกติต่าง ๆ ขึ้น โดยเฉพาะในเด็ก ผู้สูงอายุ สตรีมีครรภ์ ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพในระยะยาวอย่างโรคหัวใจ มีปัญหาสุขภาพจิต