10 วิธีใช้ Google Classroom สร้างห้องเรียนและทําอะไรได้บ้าง

10 วิธีใช้ Google Classroom สร้างห้องเรียนและทําอะไรได้บ้าง

โควิด-19 ยังระบาดอยู่ เป็นโรคใหม่ที่ทุกคนทั่วโลกต้องระวัง โดยเฉพาะกลุ่มเด็กวัยเรียนที่ได้รับการจัดการศึกษาให้เหมาะสมกับคอร์สออนไลน์ ถึงแม้ว่าบางโรงเรียนไม่สามารถเปิดสอนได้ครบทุกคนเหมือนเดิมแล้ว แต่การสลับกันเข้าเรียน หรือเปิดคอร์สเรียนออนไลน์ก็เป็นทางออกที่ดีที่เรียนรู้ได้ที่บ้าน
Google Classroom เป็นการสร้างห้องเรียน ที่วางระบบเช็กชื่อ และสร้างโพสต์กิจกรรมได้ โดยที่ครูผู้สอนต้องออกแบบห้องเรียนนี้ไว้
Google Classroom ทําอะไรได้บ้าง

Ads by BIDSXCHANGE

  1. สร้างรหัสล็อกอินได้ทั้งผู้สอน และผู้เรียน
    วิธีใช้งานคือ ผู้ใช้งานเข้าไปสร้างห้องเรียน Google Classroom ได้ที่ classroom.google.com ใน Browser Google Chrome แล้วสร้าง Password
  2. จัดการข้อมูลทั่วไปของชั้นเรียน
    ในสถาบันการเรียน จะต้องมีผู้สอนเข้าไปเลือกสร้างชั้นเรียนไว้ก่อน แล้วค่อยเพิ่มจำนวนผู้สอน และเพิ่มผู้เรียนภายหลังด้วยการกดเครื่องหมายบวก ในห้อง Google Classroom > Create Class และกรอกข้อมูลชื่อชั้นเรียน, เวลาเรียน, วิชา แล้วกด Create
  3. เพิ่มผู้สอนร่วม
    หากในชั้นเรียนมีผู้สอนอื่นๆ เพิ่มเติม คลิกเลือกที่แถบเมนู About > Invite Teathers คลิกเลือกผู้สอนร่วมจากบัญชี Gmail จากนั้นคลิก Invite
  4. จัดเก็บข้อมูลผู้เรียน และ นำผู้เรียนออกจากห้อง
    คลิกดูข้อมูลผู้เรียนได้ที่ Students และเชิญนักเรียนเข้าห้องเรียนได้ที่ Invite Students ด้วย Email สามารถจัดการให้ออกจากห้องได้ด้วยการกด “Remove”
  5. จัดเก็บชั้นเรียน เรียกคืนชั้นเรียนที่ถูกเก็บหรือลบได้
    ห้องเรียนที่ถูกสร้างเสร็จแล้ว สามารถคลิกเลือกเพื่อแก้ไขได้ที่ “Edit” และคลิกจัดเก็บได้ที่ “Archive” เมื่อต้องการคลิกกลับมาเลือกดูชั้นเรียนที่เก็บไว้ คลิกเลือก Archived Classes และเมื่อต้องการลบ คลิก “Delete”
  6. สร้างประกาศกิจกรรม
    เมื่อมีโน้ต หรือประกาศที่ต้องการแจ้งให้นักเรียนรับทราบ คลิกไปที่ “Announcement” และเลือกหัวข้อประกาศ ซึ่งสามารถแจ้งให้กับนักเรียนทุกคน หรือให้เห็นเฉพาะบางคนได้
  7. สร้างการบ้าน ตลอดจนให้ส่งงานและตรวจงาน
    สร้างการบ้าน ด้วยการตั้งสร้างคำถามได้ที่ เครื่องหมาย (+) เมื่อคลิกเลือกที่ Stream และ Create Queation
  8. แชร์โพสต์จากวิชาอื่น
    เมื่อต้องการนำเข้าโพสต์จากวิชาอื่นเพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาเพิ่ม ก็เลือกที่ Stream กด เครื่องหมาย (+) แล้วเลือกไปที่ Reuse Post
  9. Export รายงานเป็น Google Sheet ให้ดาวน์โหลดเพื่อตัดเกรดให้คะแนนได้ง่าย
    เมื่อต้องการตรวจกิจกรรมหรือการบ้าน ก็สามารถเลือกไปที่ชื่อนักเรียนแต่ละคน หรือต้องการส่งคะแนนออกมาเป็น Google Sheets ก็คลิกเครื่องหมายฟันเฟืองด้านข้าง แล้วเลือกการส่งออกเป็น CSV ตามที่ต้องการ โดยเปิดใน Microsoft Excel ได้
  10. เปลี่ยนธีม
    เปลี่ยนธีมและแบนเนอร์ได้ด้วยการคลิกเลือก Select Theme > Gallery > Patterns เลือกรูปแบบที่ต้องการแล้วกด “Select Class Theme” หากต้องการเลือกรูปอื่น คลิก “Upload Photo”
    สรุป Google Classroom มีข้อดี ข้อเสียอย่างไรบ้าง
  11. Google Classroom ช่วยให้ผู้สอนสร้างห้องเรียนออนไลน์ ด้วยการเช็กชื่อ และจัดระเบียบเอกสารและกระดานในรูปแบบ Streaming ได้อย่างง่ายดาย
  12. และป้องกันความปลอดภัยได้ด้วยการเข้ารหัส เช่นเดียวกับการเข้าใช้งานผลิตภัณฑ์อื่นๆ ของ Google
  13. สร้างการบ้านให้เด็กๆ เข้ามาทำกิจกรรมได้ และผู้สอนสามารถตรวจให้คะแนนรายคนได้
  14. ใช้งานได้กับทุกอุปกรณ์ ทั้ง PC และ Smart Device ที่รองรับ Android, iOS
  15. กำหนดรหัสให้นักเรียนใช้เข้าห้องเรียนได้ทีละคน

Share:

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on pinterest
Pinterest
Share on linkedin
LinkedIn

ขอคำปรึกษา

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

Table of Contents

On Key

Related Posts

การเรียนและสมาธิ เป็นของคู่กัน

การเรียนและสมาธิ เป็นของคู่กัน

✨เนื่องจากสมาธิเป็นทักษะที่สำคัญในการเรียนและการศึกษา เพื่อให้เราสามารถเน้นความสำคัญและให้ความร่วมมือในกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ———————- 👉 และนี่คือข้อแนะนำเกี่ยวกับสมาธิและการเรียนที่เรานำมาฝากเพื่อนๆค่ะ : 1. การเพิ่มสมาธิ: สมาธิสามารถเพิ่มความจำของเรา การทำสมาธิส่งผลให้เรามีความตั้งใจในการเรียนและสามารถรับรู้ข้อมูลได้ดีกว่า 2. การลดความรู้สึกเครียด: การมีสมาธิสามารถช่วยลดความรู้สึกเครียดที่เกิดจากการเรียนหรือการสอบ เมื่อเราสามารถรักษาสมาธิในขณะที่เรียน จะช่วยให้เราสามารถรับมือกับแรงกดดันและความยากลำบากในการเรียนได้ดีขึ้น 3. การเพิ่มความตั้งใจ: สมาธิช่วยให้เรามีความตั้งใจในการเรียน รูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นการสมาธิช่วยให้เราสามารถใช้เวลาและทรัพยากรในการเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ เช่นการกำหนดเป้าหมายเพื่อให้ตัวเองมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ 4. การเพิ่มความระมัดระวัง: สมาธิช่วยให้เรามีความระมัดระวังในการเรียน สามารถตระหนักถึงสิ่งที่เรากำลังเรียนรู้ ช่วยให้เราสามารถจับต้องและเข้าใจข้อมูลได้อย่างถูกต้อง

เคล็ดลับการเพิ่มความคิดสร้างสรรค์

เคล็ดลับการเพิ่มความคิดสร้างสรรค์

ความคิดสร้างสรรค์ไม่ได้จำกัดอยู่เพียงในศิลปะหรือการออกแบบเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาอย่างมีนวัตกรรมในหลายๆ ด้านของชีวิต 🌟 นี่คือเคล็ดลับที่จะช่วยเพิ่มความคิดสร้างสรรค์ในตัวคุณ! การเพิ่มความคิดสร้างสรรค์ไม่ใช่เรื่องที่ทำได้ภายในคืนเดียว แต่เป็นกระบวนการที่ต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 💡 ด้วยเคล็ดลับเหล่านี้ คุณจะสามารถปลดล็อกศักยภาของความคิดสร้างสรรค์ในตัวคุณและสนุกกับการสร้างสรรค์ในทุกด้านของชีวิต! – – – – – – – – – – – – – – –

เทคนิคในการเริ่มเขียนวิจัย

เทคนิคในการเริ่มเขียนวิจัย

🍄 อาจจะมีเพื่อนบางคนใช้เวลาในการทำวิจัยนานมาก ตั้งแต่การเริ่มต้นทำ ระยะเวลาระหว่างทำ กว่าจะแก้ไข กว่าจะสอบผ่าน เรามาเตรียมตัวตั้งแต่ขั้นตอนในการ “เริ่มต้นเขียนวิจัย” กันดีกว่า เพราะการเริ่มต้นนั้นยากที่สุดเสมอ พอเราได้เริ่มแล้วขั้นตอนต่อ ๆ ไปจะเริ่มตามมาเอง! 💙 พูดคุย / ระดมสมองเพื่อหาไอเดีย เริ่มต้นด้วยการลองพูดคุยกับเพื่อน ๆ ว่ากำลังสนใจที่จะทำในหัวข้อไหน ประเด็นสำคัญที่ต้องเน้นในส่วนเนื้อหา การเก็บรวบรวมข้อมูล ผลลัพธ์ที่คาดหวัง เหตุผลที่ต้องการศึกษาในปัญหานี้ เพื่อเป็นการแชร์ไอเดีย

ทำงานวิจัยไม่ทัน!!!!

ทำงานวิจัยไม่ทัน!!!!

😵‍😓 “ทำงานประจำควบคู่เรียนต่อ” “งานวิจัยมีแก้ไขเยอะมาก” “ทำวิจัยไม่เป็น ไม่รู้จะใช้วิธีการไหน” คุณกำลังประสบปัญหานี้อยู่หรือเปล่าคะ❓ . ถ้าใช่! คุณมาถูกทางแล้วล่ะ 😊 ะเรามีบริการเกี่ยวกับวิจัย วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ IS ทำแบบสอบถาม Assignment และอื่น ๆ อีกมากมาย พร้อมที่จะช่วยเหลืองานวิจัยของคุณ . ⏰อย่าปล่อยให้เวลาทำงานเหลือน้อย ติดปัญหาในส่วนไหนทักแชทสอบถามเราเลย ด้วยประสบการณ์การทำงานหลายหมื่นชิ้น และทีมงานหลากหลายสาขาวิชา