เทคนิคการเขียนบทความวิชาการ : #หนึ่งบทความวิชาการคือหนึ่งบทเรียนในตำราหรือหนังสือ

สมรรถนะตั้งต้นของความสามารถในการเขียนตำราหรือหนังสือทางวิชาการ
บทความวิชาการ เป็นข้อเขียนทางวิชาการที่อยู่ระหว่าง 8-15 หน้ากระดาษ เพื่อนำเสนอแง่คิด มุมมอง แนวคิด ทฤษฎี ตลอดจนงานวิจัยให้เป็นที่รู้จักแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการ ซึ่งเป็นหนึ่งในผลงานทางวิชาการที่บุคลากรสายวิชาการจำเป็นต้องกระทำให้มีขึ้น ด้วยเหตุผลของบทบาทความเป็นนักวิชาการและโอกาศความก้าวหน้าในการประกอบอาชีพ สำหรับเทคนิคการเขียน สำหรับ #แนวทางและเทคนิคการเขียนบทความวิชาการ ดังนี้

  1. #นิยามบทความวิชาการ หมายถึง งานเขียนเรียบเรียงเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง (เรื่องเดียว) ที่อ้างอิงบนฐานความรู้ (แนวคิด ทฤษฎี งานวิจัย) โดยทั่วไปความยาวระหว่าง 8-15 หน้า
  2. #หลักการของการเขียนบทความวิชาการ
    a. บทความวิชาการหนึ่งบทความควรนำเสนอแค่หนึ่งประเด็น
    b. แก่นสารัตถะของบทความอาจใช้แนวทางการเขียนลักษณะใดลักษณะหนึ่งหรือมากกว่า
    c. การเรียบเรียงต้องทำตามแบบงานเขียนทางวิชาการ (มีอ้างอิงข้อมูลอย่างครบถ้วน)
    d. ต้องเรียบเรียงการเขียนตามรูปแบบของวารสารที่จะตีพิมพ์
    e. เขียนอย่างกระชับโดยความยาวระหว่าง 8-15 หน้า
    f. การเขียนต้องไม่ละเมิดจริยธรรมทางวิชาการ (คัดลอกผลงานคนอื่นโดยไม่อ้างอิง การตีพิมพ์ซ้ำซ้อน)
    g. ฯลฯ
  3. #เทคนิควิธีการเรียบเรียงบทความวิชาการ
    3.1. #การตั้งชื่อเรื่อง : ถ้อยคำที่สื่อถึงแก่นสารัตถะของบทความ
    a. ร้อยเรียงคำสำคัญมาตั้ง (Main Idea+เจ้าของ+พิกัด)
    b. เอาชื่อวัตถุประสงค์ในบทความการวิจัยมาตั้ง
    c. ตั้งให้ชื่อให้งดงาม (ดึงดูดคนอ่าน)
    d. ฯลฯ
    3.2. #การเขียนบทคัดย่อ/สาระสังเขป : แก่นสารัตถะแบบกระชับของบทความ นำเสนอสองส่วนอาจะเป็นพารากราฟเดียวหรือสองพารากราฟก็ได้
    a. ส่วนแรก เรียบเรียงแบบกระชับไม่เกิน 5 บรรทัด (ความเป็นมาความสำคัญประเด็นวาทะกรรม_หลักการและเหตุผล)
    b. ส่วนท้าย เรียบเรียงแก่นสารัตถะแบบกระชับของเนื้อหาบทความ ประเมิน 5-10 บรรทัด
    3.3. #การเลือกคำสำคัญ : ถ้อยคำที่สื่อถึงกรอบแนวคิดและจำนวนองค์ประกอบกรอบแนวคิดของบทความ
    3.4. #การเขียนบทนำ : การเรียบเรียงหลักการและเหตุผลของการนำเสนอบทความ
    a. ส่วนแรก ระบุความเป็นมาของเรื่อง (Main Idea)
    b. ส่วนสอง ระบุความสำคัญของเรื่อง (Main Idea)
    c. ส่วนสาม นำเสนอประเด็นโต้แย้งทางวิชาการ (Argument) หรือ ประเด็น Anti-Thesis หรือ ชายขอบแห่งความรู้ของประเด็นศึกษา (Main Idea) หรือ ประเด็นวาทะกรรมที่น่าสนใจ ฯลฯ
    d. ส่วนที่สี่ สรุปเป็นหลักการและเหตุผล (ด้วยปรากฏการณ์ที่นำเสนอมาจึงต้องมีการวิจัยเรื่องนี้)
    3.5. #การเขียนเนื้อหาสาระ [ (1) บอกองค์ประกอบ (Composition) (2) อธิบายกระบวนการ (Process) (3) อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร (Relationships between variables) (4) อธิบายระบบและกลไก (System) (5) เล่าเรื่องหรือพรรณนาความ (Narrative) (6) การตีความ (Interpretation) (7) การวิเคราะห์แยกแยะ (Identify analysis) (8) การวิเคราะห์ข้อดีและข้อเสีย (Advantage and Disadvantage Analysis) (9) การวิพากษ์วิจารณ์ (Critical review) (10) การสังเคราะห์ (Synthesis) (11) การให้ข้อเสนอแนะหรือแนวทางการพัฒนา (Suggestion or Development guidelines) และ (12) การเขียนแบบผสมผสาน (Mixed)]
    3.6. #การเขียนเอกสารอ้างอิง : เป็นการระบุรายงานเอกสารและหลักฐานการอ้างอิงที่มีการอ้างอิงข้อมูลในเนื้อหาของบทความ : รูปแบบการเขียนก็มีหลากหลายตามแต่รูปแบบของวารสาร เช่น APA style, Chicago style, Footnote เป็นต้น

Share:

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on pinterest
Pinterest
Share on linkedin
LinkedIn

ขอคำปรึกษา

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

Table of Contents

On Key

Related Posts

การใช้สื่อสังคมออนไลน์ต่อสุขภาพจิตและความเสี่ยงในโรคซึมเศร้า

การใช้สื่อสังคมออนไลน์ต่อสุขภาพจิตและความเสี่ยงในโรคซึมเศร้า

การใช้สื่อสังคมออนไลน์เป็นส่วนสำคัญของการสื่อสารและการแลกเปลี่ยนข้อมูลในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม การใช้สื่อสังคมออนไลน์นั้นอาจมีผลกระทบต่อสุขภาพจิตของบุคคล และเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคซึมเศร้าได้ด้วย 💁🏻‍♀️ ตามรายงานวิจัยของสถาบันภาพยนตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพแห่งชาติ (National Institute of Mental Health) ประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่า ผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ที่ใช้เวลาในการใช้งานมากกว่า 2 ชั่วโมงต่อวัน มีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะซึมเศร้าได้สูงขึ้น หรือมีการสะสมความเครียดเพิ่มขึ้น การใช้สื่อสังคมออนไลน์อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพจิตของบุคคลได้อย่างหลากหลายรูปแบบ ซึ่งอาจมีผลกระทบที่ดีหรือเสียต่อบุคคลแต่ละคนตามความเป็นจริงของสถานการณ์และวิธีการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ดังนี้ อย่างไรก็ตาม สื่อสังคมออนไลน์ก็สามารถใช้เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมสุขภาพจิตได้ โดยการเข้าร่วมกลุ่มหรือชุมชนออนไลน์ที่เกี่ยวกับการสนทนาเกี่ยวกับสุขภาพจิต การแชร์ประสบการณ์

จัดหนักจัดเต็มทุกงานวิจัย

จัดหนักจัดเต็มทุกงานวิจัย

💁‍♀️ Thesis Thailand จัดหนักจัดเต็ม พร้อมช่วยแนะนำให้คำปรึกษาทุกงานวิจัย 🤩 และกระบวนการให้คำปรึกษางานวิจัยของ Thesis Thailand เป็นอย่างไรบ้างนั้น สามารถดูเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ของเราคลิกเลย👉🏻https://thesisthailand.co.th  🗣 ติดต่อสอบถามปรึกษาปัญหาวิจัย 📲  📲 LINE: @THESISTH 📞 TEL: 063-207-3864 ✉️ INBOX: https://m.me/thesisthailand #วิจัยตัวร้าย #รับทำวิจัย

ครบเครื่องเรื่องงานวิจัยได้ที่Thesis Thailand

ครบเครื่องเรื่องงานวิจัยได้ที่Thesis Thailand

✨ การที่งานวิจัยจะถือว่า “ครบเครื่อง” จะต้องทำครบทุกส่วนประกอบอย่างเป็นระบบแบบมีคุณภาพสูงสุด 👏🏻 ดังนั้น การเลือกใช้บริการจาก Thesis Thailand ที่ปรึกษาในการทำงานวิจัยหลากหลายด้าน ผู้เชี่ยวชาญระดับชั้นการศึกษาต่างๆ จนถึงปริญญาเอก 👍🏻 พร้อมให้บริการด้านงานวิจัยได้อย่างครบครันเพื่อคุณ 🤩 🗣 ติดต่อสอบถามปรึกษาปัญหาวิจัย 📲  📲 LINE: @THESISTH 📞 TEL: 063-207-3864 ✉️

สุดยอดทีมงานวิจัยที่พร้อมช่วยคุณ

สุดยอดทีมงานวิจัยที่พร้อมช่วยคุณ

“เราเป็นผู้นำอันดับ 1 ของโลกด้านการเขียนเชิงวิชาการออนไลน์ โดยได้รับความไว้วางจากลูกค้า คุณภาพระดับสาขา” บริการที่ยืดหยุ่นสำหรับทุกขั้นตอนการทำงานของคุณ ไม่ว่าคุณจะทำวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกเสร็จมากแค่ไหน เราก็พร้อมจะเข้าไปมีส่วนร่วม ติดต่อสอบถามปรึกษาปัญหาวิจัย 📲 🔹 LINE: @THESISTH 🔹TEL: 063-207-3864 🔹 INBOX: https://m.me/thesisthailand #วิจัยตัวร้าย #รับทำวิจัย #รับทำการบ้าน #วิจัยปี4 #วิจัยปโท #รับทำวิทยานิพนธ์ #วิทยานิพนธ์