เทคนิคการเขียนบทความวิจัยให้ได้รับการตีพิมพ์

เทคนิคการเขียนบทความวิจัยให้ได้รับการตีพิมพ์ แนวทางและขั้นตอนที่สำคัญในการเขียนบทความวิจัยเพื่อให้ได้รับการตีพิมพ์ดังต่อไปนี้ขั้นตอนที่ 1 หลังจากที่ได้ทำงานวิจัยและได้ผลการทดลองเป็นที่น่าพอใจเรียบร้อยแล้ว จึงสามารถเริ่มต้นเขียนบทความวิจัยได้ ซึ่งในการเขียนบทความที่ดี มีสิ่งที่ควรคำนึงถึงดังนี้• เป็นผลที่ได้มาจากงานวิจัยที่มีคุณภาพ มีความคิดริเริ่ม (originality) และมีความใหม่ (novelty)• ส่งบทความวิจัยเพื่อลงตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูลที่ สกอ รับรอง และถ้าเป็น วารสารนานาชาติก็ควรพิจารณาถึงค่า Impact factor ด้วย2• เลือกวารสารที่จะส่งตีพิมพ์ให้สอดคล้องกับเนื้อหาของบทความวิจัย• ภาษาที่ใช้ในการเขียนควรเป็นภาษาทางการo ไม่ควรใช้ภาษาพูดและคำสรรพนามo ถ้าตีพิมพ์ลงในวารสารภาษาไทย ถ้าใช้คำทับศัพท์ก็จะต้องสอดคล้องกับศัพท์ราชบัณฑิต• ศึกษารูปแบบการเขียนบทความจากวารสารที่ต้องการจะส่งไปตีพิมพ์ให้เข้าใจและชัดเจน เพราะวารสารต่างๆ จะมีข้อกำหนดและรูปแบบในการตีพิมพ์แตกต่างกัน เช่น รูปแบบ (format) ฟอนต์ การอ้างอิง และอื่นๆo เตรียมต้นฉบับให้ตรงตามข้อกำหนดของวารสารo เขียนเนื้อหาแต่ละส่วนให้ชัดเจน กระชับ หนักแน่น เข้มข้น และเรียงลำดับข้อมูลอย่างถูกต้องและสมเหตุผลo เนื้อหาสัมพันธ์และไปในแนวทางเดียวกัน (consistent) และอ่านเข้าใจง่ายo อ่านแล้วได้ความรู้ใหม่ ทฤษฎีใหม่ หรือความคิดใหม่ขั้นตอนที่ 2 เขียนบทความวิจัยในแต่ละส่วน โดยเริ่มจากหัวข้อที่สามารถเขียนได้ง่ายก่อน (ตามความถนัดของผู้เขียน) โดยข้าพเจ้าจะเขียนรายละเอียดในหัวข้อต่างๆ เรียงตามลำดับดังนี้1) ชื่อเรื่อง (title), ผู้เขียน […]

หลายท่านที่เป็นนักวิจัยมือใหม่ที่จำเป็นที่จะต้องเขียนบทความวิชาการเพื่อนำเสนอ

หลายท่านที่เป็นนักวิจัยมือใหม่ที่จำเป็นที่จะต้องเขียนบทความวิชาการเพื่อนำเสนอส่งตีพิมพ์ให้กับวารสารทางวิชาการต่างๆ นั้นประสบปัญหาในการที่จะเขียนอ้างอิงอย่างถูกต้อง เพราะไม่รู้ว่าจะต้องเขียนในรูปแบบใด การเขียนอ้างอิงบทความวิชาการในปัจจุบันนั้น มีรูปแบบที่แตกต่างกันไปตามข้อกำหนดของแต่ละสถาบันหรือแต่สำนักวารสารนั้น การที่จะเขียนอ้างอิงบทความเชิงวิชาการให้ถูกต้อง สิ่งแรกที่ท่านต้องคำนึงถึงก่อนคือ สถานที่ตีพิมพ์ แหล่งตีพิมพ์กับวารสารแห่งใด ซึ่งจะทำให้ท่านทราบว่าข้อกำหนดของการจัดพิมพ์ที่ถูกต้องนั้นควรจะจัดพิมพ์ในรูปแบบใด และต่อไปนี้คือ 3 เทคนิคในการเขียนอ้างอิงอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ เขียนอ้างอิงโดยใช้ปีที่อัปเดตไม่ว่าท่านจะเขียนอ้างอิงในรูปแบบใด หลักการที่สั้นและกระชับที่สุดและเป็นเทคนิคที่นักวิจัยส่วนใหญ่เลือกใช้คือปีที่นำมาเขียนอ้างอิงของแหล่งอ้างอิงดังกล่าวจะต้องเป็นปีที่ใหม่ที่สุด ส่วนใหญ่แล้วหลักการเขียนอ้างอิงบทความวิชาการที่ถูกต้อง คือ ปี พ.ศ. ที่ใช้แหล่งอ้างอิงที่มีเนื้อหาที่ทันสมัยที่สุด มาใช้ในการสนับสนุนแนวคิด ทฤษฎีงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในงานวิจัยที่เราทำการศึกษา วิจัยเชิงคุณภาพงานวิจัยเชิงคุณภาพการวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพการทำงานวิจัยงานวิจัยทำงานวิจัยเคล็ดลับการทำงานวิจัยบริการงานวิจัยบริการรับทำวิจัยบริการรับทำวิจัย.comเทคนิคทำงานวิจัยปัญหางานวิจัยข้อผิดพลาดในการทำวิจัยกำหนดปัญหางานวิจัยการเลือกหัวข้องานวิจัยการวิเคราะห์สถิติวิเคราะห์ข้อมูลสถิติการวิเคราะห์ข้อมูลบทความวิชาการ_การเขียนบทความวิชาการอ้างอิงจาก : www.unsplash.comฉะนั้น แหล่การสืบค้นข้อมูลงที่ใช้ในการอ้างอิงผลงานวิจัย จะต้องมีเนื้อหางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หรือแหล่งข้อมูลออนไลน์ในการศึกษาที่ทันสมัย และมีความเป็นปัจจุบัน อาทิเช่น ศูนย์องค์กรวิจัยของภาครัฐ หรือภาคเอกชนต่างๆ และจำเป็นที่จะต้องคำนึงรูปแบบที่ใช้ในการอ้างอิงของแหล่งที่จะส่งตีพิมพ์ได้ เขียนอ้างอิงตามรูปแบบที่แหล่งตีพิมพ์เผยแพร่นั้นกำหนดไว้หลายครั้งที่นักวิจัยมือใหม่ไม่สามารถเขียนอ้างอิงได้อย่างถูกต้อง เนื่องจากว่าไม่รู้มาก่อนว่าจะต้องมีการอ้างอิงข้อมูลจากทางวารสารวิชาการ ซึ่งวารสารวิชาการที่เป็นรายเดือนหรือรายปีก็จะมีข้อกำหนดในการที่จะจัดพิมพ์ที่แตกต่างกันไป วิจัยเชิงคุณภาพงานวิจัยเชิงคุณภาพการวิเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพการทำงานวิจัยงานวิจัยทำงานวิจัยเคล็ดลับการทำงานวิจัยบริการงานวิจัยบริการรับทำวิจัยบริการรับทำวิจัย.comเทคนิคทำงานวิจัยปัญหางานวิจัยข้อผิดพลาดในการทำวิจัยกำหนดปัญหางานวิจัยการเลือกหัวข้องานวิจัยการวิเคราะห์สถิติวิเคราะห์ข้อมูลสถิติการวิเคราะห์ข้อมูลบทความวิชาการ_การเขียนบทความวิชาการอ้างอิงจาก : www.unsplash.comดังนั้น ก่อนที่ท่านจะทำการส่งตีพิมพ์ ท่านจึงจำเป็นที่จะต้องทำการศึกษาข้อมูลการตีพิมพ์ของแหล่งตีพิมพ์นั้นก่อน เพื่อที่จะจัดพิมพ์แหล่งอ้างอิงตามที่ทางวารสารกำหนดได้อย่างถูกต้อง อย่าลืมบันทึกไฟล์แหล่งอ้างอิงการเขียนผลงานทางวิชาการ ไม่ว่าจะเป็นบทความวิชาการ ผลงานวิจัย บทความวิจัย หรือเอกสารทางวิชาการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องนั้น การบันทึกไฟล์แหล่งอ้างอิงยังคงเป็นสิ่งที่สำคัญอยู่เสมอ เนื่องจากการส่งตีพิมพ์นั้นจะมีคณะกรรมการที่คอยทำการตรวจสอบเนื้อหาของท่านเพื่อการอนุมัติการส่งตีพิมพ์ผลงานดังกล่าว หลายครั้งที่นักวิจัยมือใหม่ไม่รู้ว่าการเขียนผลงานวิชาการนั้น จำเป็นที่จะต้องบันทึกไฟล์แหล่งอ้างอิงไว้ทุกครั้ง เพราะในการตรวจสอบเนื้อหาจากคณะกรรมการนั้นจะมีการเรียกขอตรวจสอบแหล่งอ้างอิงหรือเรียกดูแหล่งข้อมูลที่ท่านนำมาด้วย เพื่อตรวจสอบให้แน่ใจว่าแหล่งอ้างอิงที่ท่านใช้ในเนื้อหางานวิชาการของท่านนั้นถูกต้องและชัดเจนเพียงพอ […]

การเขียนบทความทางวิชาการ

การเขียนบทความทางวิชาการ ลักษณะสำคัญของบทความทางวิชาการ ส่วนประกอบของบทความทางวิชาการ จำเป็น เช่น การจัดลำดับหัวข้อ การยกตัวอย่างที่เหมาะสม การใช้ภาษาที่กระชับชัดเจน และเหมาะสมกับผู้อ่าน เป็นต้น

เทคนิคการเขียนบทความวิชาการ : #หนึ่งบทความวิชาการคือหนึ่งบทเรียนในตำราหรือหนังสือ

สมรรถนะตั้งต้นของความสามารถในการเขียนตำราหรือหนังสือทางวิชาการบทความวิชาการ เป็นข้อเขียนทางวิชาการที่อยู่ระหว่าง 8-15 หน้ากระดาษ เพื่อนำเสนอแง่คิด มุมมอง แนวคิด ทฤษฎี ตลอดจนงานวิจัยให้เป็นที่รู้จักแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการ ซึ่งเป็นหนึ่งในผลงานทางวิชาการที่บุคลากรสายวิชาการจำเป็นต้องกระทำให้มีขึ้น ด้วยเหตุผลของบทบาทความเป็นนักวิชาการและโอกาศความก้าวหน้าในการประกอบอาชีพ สำหรับเทคนิคการเขียน สำหรับ #แนวทางและเทคนิคการเขียนบทความวิชาการ ดังนี้ #นิยามบทความวิชาการ หมายถึง งานเขียนเรียบเรียงเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง (เรื่องเดียว) ที่อ้างอิงบนฐานความรู้ (แนวคิด ทฤษฎี งานวิจัย) โดยทั่วไปความยาวระหว่าง 8-15 หน้า #หลักการของการเขียนบทความวิชาการa. บทความวิชาการหนึ่งบทความควรนำเสนอแค่หนึ่งประเด็นb. แก่นสารัตถะของบทความอาจใช้แนวทางการเขียนลักษณะใดลักษณะหนึ่งหรือมากกว่าc. การเรียบเรียงต้องทำตามแบบงานเขียนทางวิชาการ (มีอ้างอิงข้อมูลอย่างครบถ้วน)d. ต้องเรียบเรียงการเขียนตามรูปแบบของวารสารที่จะตีพิมพ์e. เขียนอย่างกระชับโดยความยาวระหว่าง 8-15 หน้าf. การเขียนต้องไม่ละเมิดจริยธรรมทางวิชาการ (คัดลอกผลงานคนอื่นโดยไม่อ้างอิง การตีพิมพ์ซ้ำซ้อน)g. ฯลฯ #เทคนิควิธีการเรียบเรียงบทความวิชาการ3.1. #การตั้งชื่อเรื่อง : ถ้อยคำที่สื่อถึงแก่นสารัตถะของบทความa. ร้อยเรียงคำสำคัญมาตั้ง (Main Idea+เจ้าของ+พิกัด)b. เอาชื่อวัตถุประสงค์ในบทความการวิจัยมาตั้งc. ตั้งให้ชื่อให้งดงาม (ดึงดูดคนอ่าน)d. ฯลฯ3.2. #การเขียนบทคัดย่อ/สาระสังเขป : แก่นสารัตถะแบบกระชับของบทความ นำเสนอสองส่วนอาจะเป็นพารากราฟเดียวหรือสองพารากราฟก็ได้a. ส่วนแรก […]