มุมวิทยานิพนธ์น่ารู้

มุมวิทยานิพนธ์น่ารู้

  • ภาพรวมกระบวนการทำวิทยานิพนธ์ ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรามคำแหง (PDF)
  • การดำเนินการของนักศึกษาหลังแก้ไขตัวเล่ม 5 บทเสร็จแล้ว (PDF)
  • ขั้นตอนการเสนอวิทยานิพนธ์ คณะศึกษาศาสตร์ (PDF)
  • ขั้นตอนการรับรูปเล่มผลงานวิทยานิพนธ์ เพื่อตรวจรูปแบบ จากบัณฑิตวิทยาลัย (PDF)
  • เทคนิคและเคล็ดลับการทำวิทยานิพนธ์ และสารนิพนธ์ (การศึกษาอิสระ) ให้ประสบความสำเร็จ (PDF)
  • แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้องกับการทำวิทยานิพนธ์ (แบบ ว.x) (web)
  • การเขียนรายการบรรณานุกรม (PDF) | (PDF) | (web)
  • วิธีสร้างรายการบรรณานุกรมอัตโนมัติด้วย Word 2010 (web)
  • ตัวอย่างการเขียนรายการบรรณานุกรม (PDF)
  • การเขียนอ้างอิงในเนื้อหา (PDF) | (PDF)
  • โปรแกรมตรวจสอบการลอกเลียนวรรณกรรม (Plagiarism Detection Software) (web)
  • แนวทางการกำหนดปัญหาและประเด็นในการวิจัย จากประเด็นกว้างไปสู่แคบ (PDF)
  • แนวทางการเขียนความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาแบบรูปกรวย (PDF) / (PDF)
  • ตัวอย่างความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาในงานวิจัย (PDF)
  • ตัวอย่างตารางสังเคราะห์และกรอบแนวคิดในการวิจัย (PDF) **ต้องสังเคราะห์ตัวแปรต้นและตัวแปรตามทุกครั้ง **
  • เทคนิคการสร้างเครื่องมือในงานวิจัย (PDF)
  • เทคนิคการหาคุณภาพเครื่องมือวิจัย (PDF)
  • วิธีแปลงไฟล์ Word มาเป็น PDF ด้วยโปรแกรม CutePDF (web) / (Download)
  • แปลงไฟล์และปรับแต่งไฟล์ PDF ผ่าน Cloud-based (web)
  • การใช้ประโยชน์จาก Notepad ในการจัดการกับ Text (PDF)
  • โปรแกรม Excel สำหรับประเมินค่าความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์หรือเนื้อหา (Download)
  • ตัวอย่างแบบประเมินค่าความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์หรือเนื้อหา (สำหรับผู้ทรงคุณวุฒิ) (PDF)
  • การปรับแต่งโปรแกรม SPSS v.13 ให้ใช้งานภาษาไทยได้ (PDF) / (Tanin.tlo)
  • IBM SPSS Statistics 20.0 Free Download (web)
  • โปรแกรม PSPP (ทดแทน SPSS) – (สรุป) | (คู่มือ) | (Download)
  • การปรับตำแหน่งทศนิยมในผลลัพธ์ของ SPSS (web)
  • นิยามของ ทัศนคติ (Point of View – Opinion not Behaving) กับ เจตคติ (Attitude – Opinion with Behaving) (web)
  • ตัวอย่างข้อคำถามของแบบสอบถามที่เกี่ยวข้องกับความรู้สึก (Feeling)
    พฤติกรรมการใช้ ความตระหนักรู้ การใช้บริการ แรงจูงใจ การรับรู้
    ความคิดเห็น การมีส่วนร่วม ความต้องการ ความพึงพอใจ เจตคติ ทัศนคติ

สถิติในการวิจัยและการใช้ SPSS วิเคราะห์ข้อมูล

  • สถิติเบื้องต้นสำหรับผู้ไม่มีพื้นฐาน (PDF)
  • ตารางการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Krejcie & Morgan (PDF)
  • ตารางการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Darwin Hendel (PDF)
  • ตารางการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Taro Yamane (PDF)
  • ตารางการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ ศิริชัย ทวีวัฒน์ ดิเรก (PDF)
  • การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยสูตรคำนวณ (PDF)
  • เทคนิคการส่มตัวอย่างและการประมาณค่า (PDF)
  • สรุปความเข้่าใจของ ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (web)
  • สรุปการเลือกใช้สถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล (PDF)
  • สรุปการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรและการทำนายตัวแปร (web)
  • ความแตกต่างระหว่าง Variance และ Standard Deviations (web) (web)
  • ตารางแจกแจงความถี่ (Distribution Tables) – (web)
  • การทดสอบสมมติฐานด้วย z-test and t-test (web) (web)
  • สรุปสถิติ: ระดับของข้อมูล (PDF)
  • สรุปสถิติ: การสุ่มตัวอย่าง (PDF)
  • สรุปสถิติ: การใช้เลือกสถิติ (PDF)
  • สรุปสถิติ: การทดสอบสมมติฐาน (PDF)
  • สรุปสถิติ: การวิเคราะห์ตัวแปรเดียว-สองตัว-หลายตัว (PDF)
  • สถิติประยุกต์ทางพฤติกรรมศาสตร์ (web)
  • สถิตในการวิจัยทางการศึกษา (web)
  • สถิติสำหรับการบริหารจัดการ (web)
  • สถิติกับคอมพิวเตอร์สำหรับสังคมศาสตร์ (web)
  • e-book สถิติเพื่อการศึกษา (web)
  • ระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา (web)
  • พื้นฐานการวิจัยและการใช้สถิติ (web)
  • การวัดและประเมินผลการศึกษา (web)
  • การวัดและประเมินผล การวิจัยและสถิติทางการศึกษา (web)
  • คู่มือการใช้ SPSS วิเคราะห์ข้อมูล (PDF1) (PDF2) (PDF3)
  • เว็บเรียนรู้ การใช้ SPSS วิเคราะห์ข้อมูล (web1) (web2)
  • สรุปย่อการใช้ SPSS วิเคราะห์ข้อมูล (PDF)
  • HyperStat: Online Statistics Textbook (web)
  • How2stats: Statisticians do it better (web)
  • Statistics: Power from Data (web)
  • Statistics How To: Statistics for the rest of us (web)
  • Dell Statistics: Methods and Applications (web)
  • Maths Is Fun: Math Resources (web)
  • Youtube SPSS in Use (web1) (web2) (web3)
  • Youtube SPSS very basic – การใช้งานเบื้องต้นจริงๆ (web)

สำหรับนักศึกษา ป.โท ที่ทำวิจัยครบ 5 บทแล้ว ให้นำข้อมูลเหล่านี้ส่งให้อาจารย์ที่ปรึกษาด้วยทุกครั้ง

  1. สำเนาบันทึกข้อความการแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบเครื่องมือการวิจัย
  2. สำเนาบันทึกข้อความการขออนุญาตหน่วยงานเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัย
  3. ไฟล์ข้อมูล Excel ที่ใช้วิเคราะห์ดัชนีความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์หรือเนื้อหา (IOC)
  4. ไฟล์ข้อมูล SPSS ของกลุ่ม Tryout เครื่องมือสำหรับวิเคราะห์ค่า Cronbach’s alpha (ค่าความเชื่อมั่น)
  5. ไฟล์ข้อมูล SPSS ของกลุ่มตัวอย่างที่เก็บจริง
  6. ไฟล์รายงานผลการวิเคราะห์เชิงสถิติ (SPSS Report) โดยแปลงเป็น PDF
  7. แบบสอบถามที่ใช้เก็บจริงพร้อมหมายเลขการลงรหัสข้อมูล (จำนวน 80% ของแบบสอบถามที่ได้รับกลับมา)

เอกสารสำคัญที่ นักศึกษา ป.โท ต้องนำมาแสดงไว้ในภาคผนวกท้ายเล่ม

  1. สำเนาบันทึกข้อความการแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบเครื่องมือการวิจัย
  2. สำเนาบันทึกข้อความการขออนุญาตหน่วยงานเก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัย
  3. ผลการวิเคราะห์ค่าความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์หรือเนื้อหา (IOC) เป็นรายข้อ
  4. ตัวอย่างแบบประเมินค่าความสอดคล้องระหว่างข้อคำถามกับวัตถุประสงค์หรือเนื้อหา (สำหรับผู้ทรงคุณวุฒิ)
  5. ตัวอย่างแบบสอบถามที่ใช้ในการเก็บข้อมูล
  6. ตัวอย่างแบบสอบถามที่ใช้สำหรับลงรหัสข้อมูล (รหัสตัวแปรต้องตรงกับใน SPSS)
  7. SPSS Report ผลการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์ของความเชื่อมั่น (Coefficient of Reliability) ด้วย Cronbach’s alpha
  8. SPSS Report ผลการวิเคราะห์สถิติทุกตัวที่ใช้ในการวิจัย

ข้อตกลงร่วมกันเรื่องความทันสมัยของหนังสือ ตำรา วารสาร และงานวิจัย ที่นำมาอ้างอิง

  1. หนังสือภาษาไทย ปีที่พิมพ์ไม่ควรเกิน 15 ปี นับจากปีปัจจุบัน
  2. วารสารวิชาการภาษาไทย ปีที่พิมพ์ไม่ควรเกิน 10 ปี นับจากปีปัจจุบัน
  3. งานวิจัยภาษาไทย ปีที่พิมพ์ไม่ควรเกิน 10 ปี นับจากปีปัจจุบัน
  4. หนังสือ วารสาร งานวิจัยจากต่างประเทศ อนุโลมได้ไม่เกิน 20 ปี นับจากปีปัจจุบัน

** อนึ่งข้อมูลดังกล่าวอาจได้รับการยกเว้น ในกรณีที่แหล่งอ้างอิงเป็นต้นฉบับที่เป็นนิยมในแวดวงวิชาการ **

https://sites.google.com/site/rucoved/home/ru-thesis

Share:

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on pinterest
Pinterest
Share on linkedin
LinkedIn

ขอคำปรึกษา

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

Table of Contents

On Key

Related Posts

งานวิจัยเผย : อากาศหนาวทำให้อ้วนขึ้น

งานวิจัยเผย : อากาศหนาวทำให้อ้วนขึ้น

จากการศึกษาโดย พญ.ธิดากานต์ รุจิพัฒนกุล หรือ “หมอผิง” ผู้เชี่ยวชาญด้านศาสตร์การชะลอวัยและกูรูด้านสุขภาพบนโซเชียลเน็ตเวิร์ก พบว่า อากาศหนาวอาจส่งผลให้คนเราหิวเก่งขึ้น โดยเฉพาะอาหารแคลอรี่สูง วิจัยในอเมริกาพบว่าคนน้ำหนักขึ้นเฉลี่ย 0.5-1 กก. ในฤดูหนาว เป็นผลจากกินเพิ่มขึ้นและออกกำลังน้อยลง . ผลกระทบที่เกิดต่อร่างกายจากอากาศหนาว ซึ่งอากาศที่หนาวเย็นอาจทำให้อุณหภูมิภายในร่างกายเปลี่ยนแปลงไป จนอาจเกิดความผิดปกติต่าง ๆ ขึ้น โดยเฉพาะในเด็ก ผู้สูงอายุ สตรีมีครรภ์ ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพในระยะยาวอย่างโรคหัวใจ มีปัญหาสุขภาพจิต

หลังอายุ 27 ความสนุกจะหายไป

งานวิจัยเผย : หลังอายุ 27 ความสนุกจะหายไป

จากการศึกษาพบว่ามากกว่าครึ่งของแบบสำรวจ (56%) ยอมรับว่าพวกเขาหมดความรู้สึกสนุกเมื่อก้าวเข้าสู่วัยผู้ใหญ่อายุเฉลี่ย 27 ปี โดย Tropicana ที่ออกมาเรียกร้องการคืนความสนุกสนานให้กับวัยผู้ใหญ่ โดยการสร้างเตียงขนาดใหญ่ยักษ์วางไว้กลางลานหลักของสถานี King’s Cross เพื่อให้ผู้ใหญ่ใช้เป็นแทรมโพลีนกระโดดเล่นกัน และงานวิจัยได้สำรวจจากชาวอังกฤษวัยผู้ใหญ่จำนวน 2,000 คน พวกเขาจำนวนมากกว่าครึ่งกล่าวว่าพวกเขาคิดถึงกิจกรรมช่วงปิดเทอม การตื่นขึ้นมาแบบไม่ต้องนึกถึงภาระ และชีวิตที่ไม่ต้องทำงานเพื่อเลี้ยงดูตัวเอง การได้เงินค่าขนม การวิ่งเล่นในสวน การดูโทรทัศนืหลังเลิกเรียน ก็ติดท็อป 40 กิจกรรมที่ผู้ใหญ่มักนึกถึงในวัยเด็กเช่นกัน หลายคนคิดถึงสิ่งต่าง

งีบหลับช่วงกลางวัน ช่วยป้องกันโรคอัลไซเมอร์ได้

งานวิจัยเผย : งีบหลับช่วงกลางวัน ช่วยป้องกันโรคอัลไซเมอร์ได้

จากการศึกษาจากวารสารวิชาการ Sleep Health โดยคณะนักวิจัยจาก University College London (UCL) และ University of the Republic ในอุรุกวัย เปิดเผยว่า การงีบหลับสั้นๆ ในช่วงเวลากลางวัน อาจเป็นผลดีต่อสุขภาพสมองของมนุษย์ เนื่องจากมันช่วยป้องกันการหดตัวของสมองได้เมื่อคนเรามีอายุมากขึ้นเรื่อยๆ แม้ก่อนหน้านี้จะมีงานวิจัยที่เปิดเผยว่า การงีบหลับนานๆ อาจเป็นอาการเริ่มต้นของโรคอัลไซเมอร์ แต่ในขณะเดียวกันงานวิจัยอื่นๆ ได้ออกมารายงานว่า การงีบหลับสั้นๆ

การลาหยุดยาวจะทำให้เราตายช้าลง

การลาหยุดยาวจะทำให้เราตายช้าลง

จากการศึกษาโดยงานวิจัยที่ได้นำเสนอในการประชุมประจำปีของ European Society of Cardiology ในประเทศเยอรมนี พบว่า การไปเที่ยวพักผ่อนอย่างน้อย 3 ครั้งในหนึ่งปี หรือคิดเป็น 21 วัน จะทำให้อายุยืนกว่า โดยเฉพาะ ‘ผู้ชาย’ ที่ลางาน 3 สัปดาห์หรือน้อยกว่านั้นต่อปี จะมีโอกาสเสียชีวิตมากกว่า 37% เมื่อเทียบกับคนที่ลางานเกิน 3 สัปดาห์จากตารางการทำงาน .