ปัญหาวิจัย (research problem)

Screenshot 2563-04-16 at 11.50.15.png

ปัญหาวิจัย (research problem)  ข้อความ หรือคำถามที่นักวิจัย กำหนดเพื่อศึกษาหาวิธีแก้ไข
คำถามวิจัย (research question) คำ ถามที่นักวิจัยกำหนดขึ้นเพื่อหาคำตอบ ซึ่งจะนำไปสู่วิธีการแก้ไขปัญหาวิจัย นิยมตั้งคำถามวิจัยว่า ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตั้งแต่สองตัวขึ้นไปมีลักษณะอย่างไร

หลักเกณฑ์ของการกำหนดปัญหาวิจัย

ปัญหาการวิจัยที่ดีควรจะเป็นอย่างไร  แม้ว่าการเขียนปัญหาการวิจัยจะไม่มีหลักเกณฑ์ตายตัวที่แน่นอน แต่การตั้งปัญหาการวิจัยควรมีหลักเกณฑ์ที่นำพิจารณา 3 ประการ คือ

1. ปัญหาควรปรากฏในรูปของ “ความสัมพันธ์” ระหว่างตัวแปรสองตัว หรือเกินกว่าสองตัว เช่น  A เกี่ยวข้องกับ  B ไหม  A และ B  เกี่ยวข้องกับ C อย่างไร A เกี่ยวข้อง  B  โดยมีเงื่อนไข C และ D  หรือไม่

2. ปัญหาต้องกำหนดให้ชัดเจน ไม่กำกวม โดยกำหนดในรูป “คำถาม” การตั้งคำถามมีข้อดีทำให้สามารถสื่อให้เห็นปัญหาได้โดยตรง

3. การกำหนดปัญหาควรเขียนในรูปที่สามารถทดสอบเชิงประจักษ์ หรือ จากสภาพความเป็นจริงได้ ปัญหาการวิจัยนอกจากแสดง “ความสัมพันธ์” แล้ว ตัวแปรที่สัมพันธ์กันต้องสามารถนำไป “วัดได้” (measured)

การกำหนดปัญหาการวิจัยเป็นเรื่องยาก โดยเฉพาะสำหรับนักวิจัยที่เพิ่งเริ่มต้น ปัญหาที่พบบ่อยที่สุดคือ

  • ปัญหานักวิจัยทำการรวบรวมข้อมูลมาก่อน  แล้วมาตั้งปัญหาภายหลัง ผลคือข้อมูลที่ได้มานั้นไม่ครบถ้วนหรือไม่เพียงพอที่จะตอบปัญหาที่ตั้งไว้ได้ วิธีแก้ก็คือควรกำหนดปัญหา วัตถุประสงค์ของการวิจัยให้แน่นอน เสร็จแล้วจึงลงมือเก็บข้อมูล ควรจำไว้ว่า ปัญหาการวิจัย เป็นตัวชี้แนะในการเก็บข้อมูล ไม่ใช้ข้อมูลเป็นตัวชี้นำการตั้งปัญหา
  • การตั้งปัญหากำกวม  ไม่เอื้ออำนวยให้เก็บข้อมูลได้ ปัญหาที่ดีจะต้องอยู่ในรูปของคำถามซึ่งประกอบไปด้วยตัวแปรอย่างน้อยสองตัว โดยที่ตัวแปรเหล่านั้นแสดงความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันด้วย
  • ปัญหากว้าง  ความยากลำบากอย่างหนึ่งที่นักวิจัยเผชิญคือปัญหามีลักษณะกว้างเกินไป  ถ้าปัญหามีลักษณะกว้างมักจะครุมเครือ ไม่อาจทดสอบได้ จึงไม่มีประโยชน์ถึงแม้จะน่าสนใจก็ตาม ปัญหาที่กว้างและครุมเครือเกินไป จะพบเห็นได้ในสังคมศาสตร์ 
  • ปัญหาที่ไม่ได้มาจากผลการวิจัย การตั้งปัญหาไม่ได้อาศัยพื้นฐานจากผลการวิจัย แบบจำลองและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องแต่ประการใด  วิธีแก้ก็คือ จะต้องสร้างปัญหาโดยอาศัยพื้นฐาน แนวคิดจากผลการวิจัย แบบจำลองและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องเสมอ

Share:

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on pinterest
Pinterest
Share on linkedin
LinkedIn

ขอคำปรึกษา

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

Table of Contents

On Key

Related Posts

การเรียนและสมาธิ เป็นของคู่กัน

การเรียนและสมาธิ เป็นของคู่กัน

✨เนื่องจากสมาธิเป็นทักษะที่สำคัญในการเรียนและการศึกษา เพื่อให้เราสามารถเน้นความสำคัญและให้ความร่วมมือในกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ———————- 👉 และนี่คือข้อแนะนำเกี่ยวกับสมาธิและการเรียนที่เรานำมาฝากเพื่อนๆค่ะ : 1. การเพิ่มสมาธิ: สมาธิสามารถเพิ่มความจำของเรา การทำสมาธิส่งผลให้เรามีความตั้งใจในการเรียนและสามารถรับรู้ข้อมูลได้ดีกว่า 2. การลดความรู้สึกเครียด: การมีสมาธิสามารถช่วยลดความรู้สึกเครียดที่เกิดจากการเรียนหรือการสอบ เมื่อเราสามารถรักษาสมาธิในขณะที่เรียน จะช่วยให้เราสามารถรับมือกับแรงกดดันและความยากลำบากในการเรียนได้ดีขึ้น 3. การเพิ่มความตั้งใจ: สมาธิช่วยให้เรามีความตั้งใจในการเรียน รูปแบบการเรียนรู้ที่เน้นการสมาธิช่วยให้เราสามารถใช้เวลาและทรัพยากรในการเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ เช่นการกำหนดเป้าหมายเพื่อให้ตัวเองมีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ 4. การเพิ่มความระมัดระวัง: สมาธิช่วยให้เรามีความระมัดระวังในการเรียน สามารถตระหนักถึงสิ่งที่เรากำลังเรียนรู้ ช่วยให้เราสามารถจับต้องและเข้าใจข้อมูลได้อย่างถูกต้อง

เคล็ดลับการเพิ่มความคิดสร้างสรรค์

เคล็ดลับการเพิ่มความคิดสร้างสรรค์

ความคิดสร้างสรรค์ไม่ได้จำกัดอยู่เพียงในศิลปะหรือการออกแบบเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแก้ไขปัญหาและการพัฒนาอย่างมีนวัตกรรมในหลายๆ ด้านของชีวิต 🌟 นี่คือเคล็ดลับที่จะช่วยเพิ่มความคิดสร้างสรรค์ในตัวคุณ! การเพิ่มความคิดสร้างสรรค์ไม่ใช่เรื่องที่ทำได้ภายในคืนเดียว แต่เป็นกระบวนการที่ต้องพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 💡 ด้วยเคล็ดลับเหล่านี้ คุณจะสามารถปลดล็อกศักยภาของความคิดสร้างสรรค์ในตัวคุณและสนุกกับการสร้างสรรค์ในทุกด้านของชีวิต! – – – – – – – – – – – – – – –

เทคนิคในการเริ่มเขียนวิจัย

เทคนิคในการเริ่มเขียนวิจัย

🍄 อาจจะมีเพื่อนบางคนใช้เวลาในการทำวิจัยนานมาก ตั้งแต่การเริ่มต้นทำ ระยะเวลาระหว่างทำ กว่าจะแก้ไข กว่าจะสอบผ่าน เรามาเตรียมตัวตั้งแต่ขั้นตอนในการ “เริ่มต้นเขียนวิจัย” กันดีกว่า เพราะการเริ่มต้นนั้นยากที่สุดเสมอ พอเราได้เริ่มแล้วขั้นตอนต่อ ๆ ไปจะเริ่มตามมาเอง! 💙 พูดคุย / ระดมสมองเพื่อหาไอเดีย เริ่มต้นด้วยการลองพูดคุยกับเพื่อน ๆ ว่ากำลังสนใจที่จะทำในหัวข้อไหน ประเด็นสำคัญที่ต้องเน้นในส่วนเนื้อหา การเก็บรวบรวมข้อมูล ผลลัพธ์ที่คาดหวัง เหตุผลที่ต้องการศึกษาในปัญหานี้ เพื่อเป็นการแชร์ไอเดีย

ทำงานวิจัยไม่ทัน!!!!

ทำงานวิจัยไม่ทัน!!!!

😵‍😓 “ทำงานประจำควบคู่เรียนต่อ” “งานวิจัยมีแก้ไขเยอะมาก” “ทำวิจัยไม่เป็น ไม่รู้จะใช้วิธีการไหน” คุณกำลังประสบปัญหานี้อยู่หรือเปล่าคะ❓ . ถ้าใช่! คุณมาถูกทางแล้วล่ะ 😊 ะเรามีบริการเกี่ยวกับวิจัย วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ IS ทำแบบสอบถาม Assignment และอื่น ๆ อีกมากมาย พร้อมที่จะช่วยเหลืองานวิจัยของคุณ . ⏰อย่าปล่อยให้เวลาทำงานเหลือน้อย ติดปัญหาในส่วนไหนทักแชทสอบถามเราเลย ด้วยประสบการณ์การทำงานหลายหมื่นชิ้น และทีมงานหลากหลายสาขาวิชา