Kasetsart University (หลักสูตร ป โท)

รายชื่อหลักสูตรปริญญาโท

มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์

คณะเกษตร (Faculty of Agriculture) 

มี 10 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาสัตวบาล

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาพืชไร่นา

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชากีฏวิทยา

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาพืชสวน

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาโรคพืช

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) สาขาวิชาปฐพีวิทยา

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต เกษตรเขตร้อน

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต การสื่อสารเพื่อการพัฒนา

หลักสูตรครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์

คณะบริหารธุรกิจ (Faculty of Business Administration)

มี 4 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการเงิน

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการผลิต

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด

คณะประมง (Faculty of Fisheries)

มี 4 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ประมง) สาขาวิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ประมง) สาขาวิชาการจัดการประมง

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ประมง) สาขาวิชาผลิตภัณฑ์ประมง

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ประมง) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล

คณะมนุษยศาสตร์ (Faculty of Humanities)

มี 6 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ประยุกต์

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญาและศาสนา

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อวัตถุประสงค์เฉพาะ

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดนตรีชาติพันธุ์วิทยา

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวรรณคดีไทย

คณะวนศาสตร์ (Faculty of Forestry)

มี 9 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วนศาสตร์) สาขาวิชาการจัดการป่าไม้

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วนศาสตร์) สาขาวิชาการจัดการลุ่มน้ำและสิ่งแวดล้อม

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วนศาสตร์) สาขาวิชาวนผลิตภัณฑ์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วนศาสตร์) สาขาวิชาวนวัฒนวิทยา

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วนศาสตร์) สาขาวิชาชีววิทยาป่าไม้

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วนศาสตร์) สาขาวิชาอุทยานและนันทนาการ

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารทรัพยากรป่าไม้)

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วนศาสตร์เขตร้อน)

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วนศาสตร์ชุมชน)

คณะวิทยาศาสตร์ (Faculty of Science)

มี 14 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเคมี (เคมีวิเคราะห์ เคมีเชิงฟิสิกส์ เคมีอนินทรีย์ และเคมีอินทรีย์)

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยา

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพันธุศาสตร์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพฤกษศาสตร์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสถิติ

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสัตววิทยา

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยาของเซลล์และโมเลกุล

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีวเคมี

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชามาตรวิทยา

คณะวิศวกรรมศาสตร์ (Faculty of Engineering)

มี 13 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชลประทาน

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้ำ

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมความปลอดภัย

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมการอาหาร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

คณะสังคมศาสตร์ (Faculty of Social Sciences)

มี 6 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรม

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาประยุกต์

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภูมิศาสตร์การวางแผนการตั้งถิ่นนฐานมนุษย์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาชุมชน

คณะสัตวแพทยศาสตร์ (Faculty of Veterinary Medicine)

มี 5 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากายวิภาคศาสตร์ทางสัตวแพทย์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสรีรวิทยาทางสัตว์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาธิวิทยาทางสัตวแพทย์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการสืบพันธุ์สัตว์

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเภสัชและพิษวิทยาทางสัตวแพทย์

ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต

หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาโรคและการจัดการสุขภาพในฟาร์มสุกร

หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาโรคและการจัดการสุขภาพในฟาร์มโคนม

หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาโรคสัตว์เลี้ยง

หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาโรคและการจัดการสุขภาพในฟาร์มสัตว์ปีก

คณะศึกษาศาสตร์ (Faculty of Education)

มี 16 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขศึกษา

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคุรุศาสตร์เกษตร

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศึกษาศาสตร์-การสอน) สาขาวิชาคณิตศาสตร์

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศึกษาศาสตร์-การสอน) สาขาวิชาวิทยาศาสตร์

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศึกษาศาสตร์-การสอน) สาขาวิชาภาษาฝรั่งเศส

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศึกษาศาสตร์-การสอน) สาขาวิชาภาษาอังกฤษ

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศึกษาศาสตร์-การสอน) สาขาวิชาสังคมศาสตร์

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (คหกรรมศาสตร์ศึกษา)

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว)

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พลศึกษา)

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การศึกษาผู้ใหญ่)

หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา)

หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ธุรกิจศึกษา)

หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (เทคโนโลยีการศึกษา)

หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (วิจัยและประเมินผลการศึกษา)

คณะเศรษฐศาสตร์ (Faculty of Economics)

มี 6 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร

หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาธุรกิจการเกษตร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากร

คณะอุตสาหกรรมเกษตร (Faculty of Agro-Industry)

มี 4 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การอาหาร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการบรรจุ

ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต

หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาการประกันคุณภาพผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเกษตร

หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีน้ำตาล

ไม่สังกัดคณะ (สหวิชาการ) 

มี 5 หลักสูตร ได้แก่

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพันธุวิศวกรรม

หลักสูตรป.บัณฑิต การจัดการและประเมินโครงการ

หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพัฒนาสังคม

หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร

หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว

Share:

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on pinterest
Pinterest
Share on linkedin
LinkedIn

ขอคำปรึกษา

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

Table of Contents

On Key

Related Posts

How to จัดตารางการอ่านหนังสือ

How to จัดตารางการอ่านหนังสือ

How to จัดตารางการอ่านหนังสือ Thesis Thailand ขอแนะนำการจัดตารางการอ่านหนังสือ ดังนี้ . 1. เลือกเวลาที่เหมาะสม เวลาที่เหมาะสมหมายความว่า เวลาของแต่ละคนไม่เหมือนกัน บางคนชอบอ่านตอนเช้าตรู่ บางคนชอบอ่านตอนกลางคืนก่อนนอน บางคนชอบอ่านเวลากลางวัน แล้วแต่การจัดสรรเวลาของแต่ละคนย่อมไม่เหมือนกัน น้องต้องเลือกดูเวลาที่เหมาะสมของตัวเองนะ การจัดเวลาต้องให้ได้อย่างน้อย 2 ชั่วโมง วันนึงถ้าอ่านหนังสือแค่วันละ 2 ชั่วโมงน้อยมาก . 2.

งานวิจัยเผย : คนฉลาดมักมีเพื่อนน้อยกว่าคนธรรม

งานวิจัยเผย : คนฉลาดมักมีเพื่อนน้อยกว่าคนธรรม

จากการศึกษางานวิจัยของ The British Journal of Psychology ทำการทดลองด้วยการสำรวจความเห็นของกลุ่มคนอายุ 18 ถึง 28 ปี จำนวนกว่า 15,000 คน ผลวิจัยพบว่า คนฉลาดหรือคนที่มีไอคิวสูง ๆ ที่จำนวนของกลุ่มเพื่อนมีผลกระทบต่อพวกเขาเป็นอย่างมาก และคนฉลาดมักมีความพึงพอใจต่ำกว่าคนทั่วไปถึง 2 เท่า นั่นแปลว่ายิ่งคุณฉลาดเท่าไหร่ คุณจะยิ่งไม่ชอบเข้าสังคมเลย . พบอีกว่าคนที่มีไอคิวสูงนั้นมักจะไม่ใช้เวลาไปกับการเข้าสังคมหรือใช้เวลากับเพื่อนมากนัก

งานวิจัยเผย : ผู้หญิงความจำดีกว่าผู้ชาย

งานวิจัยเผย : ผู้หญิงความจำดีกว่าผู้ชาย

จากการศึกษาเรื่องงานวิจัยที่น่าสนใจของ ดร.มุยเรียนน์ ไอริช นักประสาทวิทยาศาสตร์การรู้คิด จากสถาบันวิจัยประสาทวิทยาศาสตร์ออสเตรเลีย กล่าวว่าที่ผู้หญิงความจำดีกว่าผู้ชายอาจเป็นเพราะผู้หญิงมักต้องทำงานที่ใช้ความจำในด้านบางอย่างมากกว่าผู้ชาย เช่น การตามตารางนัดหมาย หรือการตรวจสิ่งของต่างๆ ว่าเก็บไว้ตรงไหน ทำให้เหมือนเป็นการฝึกฝนไปในตัว . อีกทั้งยังมีผู้เชี่ยวชาญด้านการให้คำปรึกษา & Holistic Medicine กล่าวว่าโครงสร้างของสมองระหว่างผู้ชายและผู้หญิงจะมีความแตกต่างกัน ซึ่งเป็นผลมาจากฮอร์โมนเพศในช่วงตอนต้นของชีวิต โดยผู้หญิงจะมีสมองส่วน Hippocampus ทำหน้าที่เก็บความจำต่อเหตุการณ์ขนาดใหญ่กว่าผู้ชาย จึงเป็นสาเหตุให้ผู้หญิงสามารถจดจำเรื่องราวต่างๆ ได้มากกว่าและยังรวมถึงการระลึกเหตุการณ์เก่าๆ ที่สะเทือนจิตใจได้ดีกว่าผู้ชาย และขณะเดียวกันผู้ชายมักจะเก็บความทรงจำในภาพรวมหรือเหตุการณ์สำคัญๆมากกว่า

นักจิตวิทยาเผย : ระวังจิตพัง เพราะตามใจคนอื่น เป็นคนอะไรก็ได้

นักจิตวิทยาเผย : ระวังจิตพัง เพราะตามใจคนอื่น เป็นคนอะไรก็ได้

จากการศึกษาจาก แดรี่เลวานี จอห์นสัน (Darylevuanie Johnson) นักจิตวิทยาและผู้เชี่ยวชาญด้านการปรึกษาด้านจิตวิทยา กล่าวว่า คนที่ชอบเอาอกเอาใจผู้อื่นอยู่เสมอ หรือที่เรียกว่าเป็น People-Pleaser ที่ความพึงพอใจของคนอื่นมักจะมาก่อนของตัวเองเสมอ และคิดว่าตัวเองไม่มีอำนาจต่อรองใดๆ กับใครเลย เพราะการถูกปฏิเสธ ถูกโกรธ ถูกบอกเลิก หรือไม่ได้รับการยอมรับ . นับว่าเป็นเรื่องที่เจ็บปวดสำหรับคนประเภทนี้ ซึ่งหลายครั้งมันอาจถึงขั้นที่จะต้องแลกหรือเสียสละเวลา พลังงาน ความฝัน ความต้องการส่วนตัวของตัวเอง เพื่อทำให้คนอื่นมีความสุขมากที่สุด ทำให้พวกเขามักจะ