5 เทคนิค ทำวิจัยให้สำเร็จ ทันเวลาที่กำหนด

ในบทความนี้เราจะบอกเล่าถึงเทคนิคการทำวิจัยให้ทันเวลาที่กำหนด โดยที่คุณจะได้งานวิจัยที่มีคุณภาพ และประสบความสำเร็จในการทำงานวิจัย การทำงานวิจัยไม่ใช่เรื่องยาก หากคุณมีเทคนิคในการทำวิจัยที่ดี พร้อมทั้งประโยชน์ในการทำงานวิจัยที่จะช่วยให้คุณประสบความสำเร็จในการทำงานวิจัย

ประโยชน์ของการทำงานวิจัย

การทำวิจัยเป็นสิ่งที่ปรากฎผลทั้งทางด้านทฤษฎีและทางด้านการปฏิบัติ แต่งานวิจัยที่คุณได้จัดทำจะมีประโยชน์มากหรือน้อยนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูลที่คุณนำมาใช้ในการทำงานวิจัย และความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่คุณได้ทำการศึกษามีมากเพียงใด เพราะหากข้อมูลเป็นข้อมูลเท็จจะส่งผลเสียอย่างมากต่อผู้ที่เข้ามาศึกษาข้อมูลจากการงานวิจัยของคุณ

การทำวิจัยจะช่วยสร้างองค์ความรู้ใหม่ๆ ให้กับคุณ และการทำงานวิจัยจะช่วยให้การคิดค้นในด้านวิชาการของคุณมากยิ่งขึ้น ทำให้คุณเกิดการพัฒนาในด้านขององค์ความรู้และการปฏิบัติมากยิ่งขึ้น การทำงานวิจัยจะช่วยให้คุณทราบถึงข้อเท็จจริง เพื่อนำไปเป็นประโยชน์ในด้านศึกษาและพัฒนาข้อมูลให้มีความถูกต้อง และมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น

การทำวิจัยจะช่วยให้ผู้ศึกษามีความกล้าที่จะตัดสินใจและแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมมากยิ่งขึ้น เพราะในการทำงานวิจัยเกิดความผิดพลาดได้เสมอ หากผู้ศึกษาไม่มีความละเอียดรอบคอบมากพอ งานวิจัยที่คุณศึกษาก็อาจจะได้ข้อมูลที่ไม่มีคุณภาพมากเพียงพอต่อการทำงานวิจัย

5 เคล็ดลับในการทำงานวิจัยให้มีประสิทธิภาพ

1.เลือกหัวข้อในการทำวิจัย

การเลือกหัวข้อการทำวิจัย คุณต้องเลือกหัวข้อที่มีความเกี่ยวข้องกับประเด็นที่ส่งผลกระทบกับสาขาวิชาที่คุณกำลังศึกษาอยู่ โดยการกำหนดหัวข้อวิจัยที่คุณเลือกควรมีความน่าสนใจสำหรับตัวคุณและอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อให้คุณสามารถใช้หัวข้อที่คุณสนใจในการทำงานวิจัยของคุณได้ หากคุณได้หัวข้อที่คุณถนัด คุณก็จะมีความมั่นใจในการทำงานวิจัยของคุณ ผลลัพธ์ที่ออกมาก็จะมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

2.วางแผนในการทำงานวิจัย

การวางแผนในการทำงานวิจัยเป็นขั้นตอนที่สำคัญเป็นอย่างมาก เพราะเป็นตัวช่วยให้คุณทำงานอย่างเป็นระบบ และมีแบบแผนโครงสร้างในการทำงาน คุณจะดำเนินงานได้อย่างเป็นขั้นตอน เพื่อป้องกันข้อผิดพลาด และมีวิธีการแก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในงานวิจัยของคุณได้อย่างเหมาะสม

3.ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง

ในการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องคุณต้องศึกษาจากหลายๆ แหล่ง เพื่อให้ข้อมูลของคุณถูกต้องมากที่สุด หากคุณศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องจากแหล่งเดียว โอกาสที่คุณจะได้รับข้อมูลที่ครบถ้วนสมบูรณ์ก็จะน้อยกว่าการศึกษาจากแหล่งข้อมูลหลายแหล่ง

4.รวมรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล

หากคุณได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปที่คุณจะต้องทำก็คือการรวบรวมข้อมูลทั้งหมดที่คุณต้องการนำไปใช้ในการทำวิจัย เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์หาข้อเท็จจริง ให้คุณได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือมากที่สุดในการนำไปทำงานวิจัย

5.จัดทำรายงานผลการทำวิจัย

ขั้นตอนทุดท้ายของการทำงานวิจัย คือ การจัดทำรูปเล่มวิจัยตามรูปแบบที่กำหนด เพื่อให้งานวิจัยของคุณสมบูรณ์แบบมากที่สุด คุณต้องตรวจสอบข้อผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นในการพิมพ์ การจัดเรียงข้อมูล หรือความผิดพลาดในเรื่องต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น เพื่อให้คุณได้รับงานวิจัยที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด

3 ข้อควรระวังในการทำงานวิจัย

1.การวิเคราะห์ข้อมูล

ในการทำวิจัยคุณต้องมีการวิเคราะห์ข้อมูลอย่างละเอียดรอบคอบมากที่สุด เพราะถ้าหากข้อมูลของคุณเป็นข้อมูลเท็จก็อาจจะเกิดผลเสียต่อผู้ที่นำผลการวิจัยของคุณไปใช้ แต่ในยุคปัจจุบันการวิเคราะห์ข้อมูลทำได้ง่ายยิ่งขึ้น เพราะมีเครื่องมือในการช่วยวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้คุณได้รับข้อมูลที่ถูกต้องมากยิ่งขึ้น

2.การคีย์ข้อมูล

การคีย์ข้อมูลคุณต้องตรวจสอบให้ละเอียด และเพื่อให้การคีย์ข้อมูลของคุณมีความแม่นยำเพิ่มมากขึ้น คุณควรใช้เครื่องมือในการช่วยคีย์ข้อมูล เพื่อให้ง่ายต่อการตรวจสอบข้อมูล และความถูกต้องของเนื้อหาในงานวิจัยของคุณ

3.การเลือกใช้สถิติ

การเลือกใช้สถิติคุณต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับรูปแบบการวิจัยของคุณ ซึ่งมีสถิติหลายอย่างที่มีการวิเคราะห์ผลข้อมูลได้เหมือนกัน ซึ่งแต่ละงานวิจัยจะกำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลไว้ไม่เหมือนกัน

เพราะฉะนั้นก่อนที่คุณจะเลือกใช้สถิติ คุณต้องทำการทดสอบเครื่องมือสถิติให้รอบคอบ ก่อนนำผลสถิติวิเคราะห์ข้อมูลไปอ้างอิงในงานวิจัย

การทำวิจัยมีเทคนิคง่ายๆ ที่จะทำให้คุณประสบความสำเร็จในการทำงานวิจัย หากคุณมีการวางแผนอย่างเป็นระบบ และการเลือกหัวข้องานวิจัยที่คุณมีความถนัดก็มีผลที่จะทำให้งานวิจัยของคุณสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพ และเสร็จทันเวลาที่กำหนดอีกด้วย

Credit : http://www.educanow.com/%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%84-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B8%B3%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%A2-%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%81%E0%B8%B3%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%94/

Share:

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on pinterest
Pinterest
Share on linkedin
LinkedIn

ขอคำปรึกษา

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

Table of Contents

On Key

Related Posts

วิจัยเผย : ความเครียดก่อโรคหัวใจสูงและเสี่ยงกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง

วิจัยเผย : ความเครียดก่อโรคหัวใจสูงและเสี่ยงกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง

จากการศึกษาของงานวิจัยในวารสารวิชาการด้านโรคหัวใจของยุโรป ยูโรเปียน ฮาร์ท เจอร์นัล ผลการวิจัยระบุว่าคนอายุต่ำกว่า 50 ปีลงมาซึ่งระบุว่างานของตัวเองเป็นงานที่เครียดมีความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจสูงกว่าคนที่ระบุว่างานที่ทำอยู่ไม่เครียดถึง 70% นอกจากการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลซึ่งแสดงถึงความรู้สึกของกลุ่มตัวอย่างต่องานของพวกเขาแล้วนักวิจัยยังได้ทำการตรวจวัดอัตราการเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต และปริมาณฮอร์โมนความเครียดหรือ ฮอร์โมนชื่อคอร์ติซอล (cortisol)  จากตัวอย่างเลือดด้วยพบว่าความเครียดยังไปมีผลขัดขวางการขับฮอร์โมนของส่วนของระบบนิวโรเอนโดคริน (neuroendocrine system) จนทำให้ร่างกายมีการขับฮอร์เครียด หรือคอร์ติซอล ออกมาในตอนเช้าในระดับที่สูงกว่าปกติด้วย ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรงจากความเครียด หรือ Broken Heart Syndrome พบมากในหญิงวัยกลางคน

งานวิจัยเผย : แม่เคยมีแฟนมาแล้วกี่คน ลูกก็จะมีแฟนจำนวนพอกันกับแม่

งานวิจัยเผย : แม่เคยมีแฟนมาแล้วกี่คน ลูกก็จะมีแฟนจำนวนพอกันกับแม่

จากการศึกษาของ Ohio State University พบว่าแม่อาจส่งผ่านบุคลิกภาพหรือทักษะด้านความสัมพันธ์บางอย่างจากรุ่นสู่รุ่น โดย Dr.Claire Kamp Dush ผู้ริเริ่มการศึกษานี้กล่าวว่า แม่ๆ แต่ละคนมีลักษณะนิสัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อการแต่งงานและความสัมพันธ์ ซึ่งลักษณะนิสัยเหล่านั้น จะกลายเป็นมรดกส่งต่อถึงรุ่นลูก โดยอาจเป็นตัวกำหนดว่าลูกจะได้แต่งงานช้าหรือเร็ว และมีความสัมพันธ์ที่มั่นคงหรือไม่  . ใครเคยคุยเรื่องความรักกับแม่บ้าง แล้วเคยนึกสงสัยรึเปล่า ว่าแม่ของเราเคยมีแฟนมาแล้วกี่คน? รู้ไหมว่าถ้าลองถามดูดีๆ อาจพบว่า จำนวนแฟนที่แม่เคยมี นั้นพอๆ

งานวิจัยเผย : ความสัมพันธ์ของคู่รักส่งผลต่อ ‘สุขภาพ’

งานวิจัยเผย : ความสัมพันธ์ของคู่รักส่งผลต่อ ‘สุขภาพ’

จากการศึกษาของทีมนักวิจัย มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ทำการศึกษาถึงพลวัตรของความสัมพันธ์ระยะยาว ผ่านวิธีคิดเชิงพื้นที่สัมพันธ์ (Spatial Proximity) และก็ค้นพบว่า เมื่อคู่รักหรือคู่แต่งงานนั้นมีความใกล้ชิดกัน อัตราการเต้นของหัวใจของพวกเขาจะประสานเข้าหากันในรูปแบบที่มีความซับซ้อน ตามแต่การปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน ไบรอัน โอกอลสกี้ รองศาสตราจารย์จากแผนกการพัฒนามนุษย์และครอบครัวศึกษา มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ ระบุว่า นักวิจัยด้านความสัมพันธ์มักจะถามผู้คนว่าชีวิตเขาเป็นอย่างไรบ้าง และมักคิดว่าผู้คนเหล่านั้นจะสามารถจดจำหรือให้คำตอบได้อย่างลึกซึ้ง แต่กับผู้คนที่ใช้ชีวิตคู่อยู่ด้วยกันมานาน 30 – 40 ปี เมื่อถามถึงเรื่องเหล่านี้หรือพวกคำถามว่าพึงพอใจกับชีวิตคู่ขนาดไหน พวกเขามักจะหัวเราะใส่เสมอ

งานวิจัยเผย : อากาศหนาวทำให้อ้วนขึ้น

งานวิจัยเผย : อากาศหนาวทำให้อ้วนขึ้น

จากการศึกษาโดย พญ.ธิดากานต์ รุจิพัฒนกุล หรือ “หมอผิง” ผู้เชี่ยวชาญด้านศาสตร์การชะลอวัยและกูรูด้านสุขภาพบนโซเชียลเน็ตเวิร์ก พบว่า อากาศหนาวอาจส่งผลให้คนเราหิวเก่งขึ้น โดยเฉพาะอาหารแคลอรี่สูง วิจัยในอเมริกาพบว่าคนน้ำหนักขึ้นเฉลี่ย 0.5-1 กก. ในฤดูหนาว เป็นผลจากกินเพิ่มขึ้นและออกกำลังน้อยลง . ผลกระทบที่เกิดต่อร่างกายจากอากาศหนาว ซึ่งอากาศที่หนาวเย็นอาจทำให้อุณหภูมิภายในร่างกายเปลี่ยนแปลงไป จนอาจเกิดความผิดปกติต่าง ๆ ขึ้น โดยเฉพาะในเด็ก ผู้สูงอายุ สตรีมีครรภ์ ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพในระยะยาวอย่างโรคหัวใจ มีปัญหาสุขภาพจิต