หลักการเขียนบทคัดย่อ (Abstract)

Abstract หมายถึง ข้อความที่สามารถบอก ส่วนประกอบพื้นฐานของงานได้อย่างถูกต้องและ รวดเร็ว ทำให้ผู้อ่านทราบความน่าสนใจของงานเพื่อ ตัดสินใจให้อ่านงานหลัก (Paper)
การเตรียมตัวก่อนเขียนบทคัดย่อ ก่อนการเขียนบทคัดย่อควรศึกษา เรียนรู้ และทำความเข้าใจกับงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ของ ตนเองเพื่อหาประเด็นต่างๆ ที่น่าสนใจ และดึงดูดให้ ผู้อ่านทั่วไปอยากอ่านรายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์

หลักการเขียนบทคัดย่อที่ดี
1.ควรคัดเฉพาะส่วนสำคัญ เป็นประเด็นที่ น่าสนใจ เน้นถ่ายทอดจุดเด่นของการศึกษา โดยงานวิจัยมีความชัดเจน สั้น กระทัดรัด

  1. จำนวนคำต้องอยู่ระหว่าง 200–250 คำ หรือประมาณ 1–1.5 หน้ากระดาษ A4
    3 ไม่มีการตีความหรือวิพากษ์ วิจารณ์โดยใช้ ความคิดของตนเอง
    4 ไม่ควรเขียนประโยคที่เข้าใจยาก และไม่ใช้ คำศัพท์เฉพาะท้องถิ่น
    5 ไม่ใช้ตัวย่อหรือสัญลักษณ์โดยไม่จำเป็น เพราะอาจสร้างความไม่เข้าใจให้กับผู้อ่านได้
    6.ไม่มีการอ้างอิงตัวเลข แผนภาพ ตาราง โครงสร้าง สูตรสถิติ หรือสมการใน บทคัดย่อ นอกจากจำเป็นต้องแสดงผลการ วิเคราะห์
    7.ในการเขียนบทคัดย่ออาจมีหลายย่อหน้าได้ เพื่อเพิ่มความเข้าใจให้ผู้อ่านในแต่ละตอน
  2. หลีกเลี่ยงการอ้างอิงงานวิจัยงานของผู้อื่นใน บทคัดย่อ
  3. ทำตามขั้นตอนตามโครงสร้างการเขียน บทคัดย่อ โดยต้องระมัดระวังให้มาก รวมถึงลักษณะแบบตัวอักษร ขนาด ตัวอักษร การก าหนดขอบหน้ากระดาษ เคร่งครัดต่อหลักการพิมพ์ และรูปแบบที่ เป็นที่ยอมรับ ควรระมัดระวังในการ ตรวจสอบการเขียนโดยอ่านหลายๆ รอบ จะเป็นการเพิ่มคุณภาพของบทคัดย่อให้เป็น ที่ยอมรับในการเสนองานวิจัย
    ส่วนประกอบของบทคัดย่อ
    1.วัตถุประสงค์หลัก และกรอบของการศึกษา
    2 อธิบายถึงวิธีทำการวิจัย
    3.สรุปผลจากการวิจัย
  4. ระบุบทสรุปที่สำความสำคัญของบทสรุปมักจะมีการเขียนถึง 3 ครั้ง คือ ในบทคัดย่อ ในบทนำ และส่วนของ วิจารณ์ผล
  5. หัวข้อ
    1 ควรครอบคลุมเนื้อหาได้อย่างถูกต้อง
  6. ควรครอบคลุมวัตถุประสงค์ของงานวิจัยได้ อย่างชัดเจน
    3 ควรมีคำประมาณ 10–12 คำ
    4 ควรสื่อความหมายถึงสิ่งที่ต้องการศึกษาได้ ชัดเจนมากกว่าให้ความสำคัญกับผลและ สรุปผลงานวิจัย
    5 สื่อความหมายที่เข้าใจง่ายโดยไม่ควรใช้ ศัพท์ยาก หรือตัวย่อ
    6 หัวข้อไม่ควรพิมพ์ด้วยตัวพิมพ์ใหญ่
  7. ชื่อผู้แต่ง
    1 จะต้องเป็นผู้ที่ต้องดำเนินงานวิจัยนั้น
    2 ชื่อผู้แต่งชื่อแรกต้องเป็นคนที่นำเสนอบทคัดย่อ และผู้แต่งทุกคนต้องอ่านและ ยอมรับบทคัดย่อนี้ก่อนส่งตีพิมพ์
    ข้อแนะนำในการเขียนบทคัดย่อ
  8. Why did you start? – Introduction เริ่มต้นบทน าควรสรุปเรื่องและที่มาของ ความสำคัญที่เกี่ยวข้องของงานวิจัยให้อยู่ในประโยคเดียว โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิ่งที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย มากที่สุด
    2 Why did you try to do? – Aims and objectives การระบุวัตถุประสงค์จะต้องชัดเจน และ ควรเป็นประโยคสั้นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสมมติฐานของ งานที่ท าการศึกษา ในการศึกษาทางด้าน วิทยาศาสตร์ สิ่งที่สำคัญในงานวิจัยคือ “วิธีการ” พิสูจน์ว่าผลเป็นจริงมีความสำคัญมากกว่าแสดงผล ว่าเป็นจริงเพียงอย่างเดียว ซึ่งแม้ว่าจะมีความ แตกต่างกันเพียงเล็กน้อยแต่ก็เป็นเรื่องสำคัญมาก และการยืนยันด้วยสมมติฐานจะพิสูจน์ได้ว่า งานวิจัยตรงตามวัตถุประสงค์ได้อย่างไร
    3 What did you do? – Method วิธีการดำเนินงานควรกระชับ ไม่ควรใส่ รายละเอียดของการด าเนินงานให้มากเกินไป ใน ประโยคอาจเป็นการบอกวิธีการวิจัยที่ดีส าหรับ งานวิจัยชิ้นนี้ และต้องบอกชนิดของกลุ่มตัวอย่าง และวิธีการวัดให้ชัดเจน
    4 What did you find? – Results สิ่งสำคัญในการรายงานผลการวิจัยต้อง บอกถึงสิ่งที่เป็นข้อมูลจริง ไม่ใช่เพียงแค่ เปรียบเทียบว่าสิ่งใดดีกว่ากัน ต้องเลือกข้อมูลที่ สำคัญมากที่สุดที่จะสรุปอยู่ในงานวิจัย และอย่าลง ภาพหรือตารางในบทคัดย่อ
    5 What does it mean? – Conclusions การสรุปเป็นการบอกสิ่งที่ต้องการศึกษาใน งานวิจัยนี้สำคัญอย่างไร โดยการสรุปจะอยู่บน พื้นฐานของเหตุและผล และมีข้อมูลประกอบการ สรุปงานวิจัย และหากงานวิจัยประเภทที่มีขอบเขต จำกัด เช่น กลุ่มตัวอย่าง วิธีการเฉพาะ หรือ เครื่องมือเฉพาะ การเขียนสรุปจะต้องไม่ออกนอก ขอบเขตนั้น

Share:

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on pinterest
Pinterest
Share on linkedin
LinkedIn

ขอคำปรึกษา

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

Table of Contents

On Key

Related Posts

วิจัยเผย : ความเครียดก่อโรคหัวใจสูงและเสี่ยงกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง

วิจัยเผย : ความเครียดก่อโรคหัวใจสูงและเสี่ยงกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง

จากการศึกษาของงานวิจัยในวารสารวิชาการด้านโรคหัวใจของยุโรป ยูโรเปียน ฮาร์ท เจอร์นัล ผลการวิจัยระบุว่าคนอายุต่ำกว่า 50 ปีลงมาซึ่งระบุว่างานของตัวเองเป็นงานที่เครียดมีความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจสูงกว่าคนที่ระบุว่างานที่ทำอยู่ไม่เครียดถึง 70% นอกจากการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลซึ่งแสดงถึงความรู้สึกของกลุ่มตัวอย่างต่องานของพวกเขาแล้วนักวิจัยยังได้ทำการตรวจวัดอัตราการเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต และปริมาณฮอร์โมนความเครียดหรือ ฮอร์โมนชื่อคอร์ติซอล (cortisol)  จากตัวอย่างเลือดด้วยพบว่าความเครียดยังไปมีผลขัดขวางการขับฮอร์โมนของส่วนของระบบนิวโรเอนโดคริน (neuroendocrine system) จนทำให้ร่างกายมีการขับฮอร์เครียด หรือคอร์ติซอล ออกมาในตอนเช้าในระดับที่สูงกว่าปกติด้วย ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรงจากความเครียด หรือ Broken Heart Syndrome พบมากในหญิงวัยกลางคน

งานวิจัยเผย : แม่เคยมีแฟนมาแล้วกี่คน ลูกก็จะมีแฟนจำนวนพอกันกับแม่

งานวิจัยเผย : แม่เคยมีแฟนมาแล้วกี่คน ลูกก็จะมีแฟนจำนวนพอกันกับแม่

จากการศึกษาของ Ohio State University พบว่าแม่อาจส่งผ่านบุคลิกภาพหรือทักษะด้านความสัมพันธ์บางอย่างจากรุ่นสู่รุ่น โดย Dr.Claire Kamp Dush ผู้ริเริ่มการศึกษานี้กล่าวว่า แม่ๆ แต่ละคนมีลักษณะนิสัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อการแต่งงานและความสัมพันธ์ ซึ่งลักษณะนิสัยเหล่านั้น จะกลายเป็นมรดกส่งต่อถึงรุ่นลูก โดยอาจเป็นตัวกำหนดว่าลูกจะได้แต่งงานช้าหรือเร็ว และมีความสัมพันธ์ที่มั่นคงหรือไม่  . ใครเคยคุยเรื่องความรักกับแม่บ้าง แล้วเคยนึกสงสัยรึเปล่า ว่าแม่ของเราเคยมีแฟนมาแล้วกี่คน? รู้ไหมว่าถ้าลองถามดูดีๆ อาจพบว่า จำนวนแฟนที่แม่เคยมี นั้นพอๆ

งานวิจัยเผย : ความสัมพันธ์ของคู่รักส่งผลต่อ ‘สุขภาพ’

งานวิจัยเผย : ความสัมพันธ์ของคู่รักส่งผลต่อ ‘สุขภาพ’

จากการศึกษาของทีมนักวิจัย มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ทำการศึกษาถึงพลวัตรของความสัมพันธ์ระยะยาว ผ่านวิธีคิดเชิงพื้นที่สัมพันธ์ (Spatial Proximity) และก็ค้นพบว่า เมื่อคู่รักหรือคู่แต่งงานนั้นมีความใกล้ชิดกัน อัตราการเต้นของหัวใจของพวกเขาจะประสานเข้าหากันในรูปแบบที่มีความซับซ้อน ตามแต่การปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน ไบรอัน โอกอลสกี้ รองศาสตราจารย์จากแผนกการพัฒนามนุษย์และครอบครัวศึกษา มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ ระบุว่า นักวิจัยด้านความสัมพันธ์มักจะถามผู้คนว่าชีวิตเขาเป็นอย่างไรบ้าง และมักคิดว่าผู้คนเหล่านั้นจะสามารถจดจำหรือให้คำตอบได้อย่างลึกซึ้ง แต่กับผู้คนที่ใช้ชีวิตคู่อยู่ด้วยกันมานาน 30 – 40 ปี เมื่อถามถึงเรื่องเหล่านี้หรือพวกคำถามว่าพึงพอใจกับชีวิตคู่ขนาดไหน พวกเขามักจะหัวเราะใส่เสมอ

งานวิจัยเผย : อากาศหนาวทำให้อ้วนขึ้น

งานวิจัยเผย : อากาศหนาวทำให้อ้วนขึ้น

จากการศึกษาโดย พญ.ธิดากานต์ รุจิพัฒนกุล หรือ “หมอผิง” ผู้เชี่ยวชาญด้านศาสตร์การชะลอวัยและกูรูด้านสุขภาพบนโซเชียลเน็ตเวิร์ก พบว่า อากาศหนาวอาจส่งผลให้คนเราหิวเก่งขึ้น โดยเฉพาะอาหารแคลอรี่สูง วิจัยในอเมริกาพบว่าคนน้ำหนักขึ้นเฉลี่ย 0.5-1 กก. ในฤดูหนาว เป็นผลจากกินเพิ่มขึ้นและออกกำลังน้อยลง . ผลกระทบที่เกิดต่อร่างกายจากอากาศหนาว ซึ่งอากาศที่หนาวเย็นอาจทำให้อุณหภูมิภายในร่างกายเปลี่ยนแปลงไป จนอาจเกิดความผิดปกติต่าง ๆ ขึ้น โดยเฉพาะในเด็ก ผู้สูงอายุ สตรีมีครรภ์ ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพในระยะยาวอย่างโรคหัวใจ มีปัญหาสุขภาพจิต