วิทยานิพนธ์ (Thesis) กับ สารนิพนธ์ (IS) ต่างกันยังไง?

บทความนี้ เราจะช่วยไขข้อข้องใจที่ถึง 3 ความแตกต่างที่จะทำให้คุณเข้าใจได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้นว่าวิทยานิพนธ์ (Thesis)กับสารนิพนธ์ (IS) ต่างกันยังไง?

วิทยานิพนธ์ (Thesis)

งานวิทยานิพนธ์ คือ การศึกษาค้นคว้างานวิจัย หรือการเขียนงานวิชาการที่ผู้เรียนในระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอกต้องจัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการจบการศึกษา รับปริญญา เพื่อเป็นเกียรติคุณและ เป็นไปเบิกทางในสายอาชีพต่างๆ ที่ตนเองสนใจในอนาคต

สารนิพนธ์ (Independent Study)

สารนิพนธ์/การค้นคว้าอิสระ (IS) คือ การศึกษาวิจัยอิสระโดยการค้นคว้าทำความเข้าใจกับความรู้นั้น ๆ แบบไม่จำกัดรูปแบบของการศึกษา กลั่นกรองความรู้เนื้อหาสาระที่มีผู้ศึกษาวิจัยไว้แล้ว นำมาสรุปใหม่ให้อยู่ในหัวข้อเรื่องเดียวกัน แต่มีเนื้อหาต่างกัน และ ศึกษาได้ง่ายกว่า

ฉะนั้น สารนิพนธ์กับวิทยานิพนธ์นั้นมีความแตกต่างกันในเรื่องของ…

แนวคิด (Concept) และ ตัวแปร (Variable) ที่ใช้ในการวิเคราะห์

ในการทำงานสารนิพนธ์จะศึกษาแนวคิด (Concept) หรือตัวแปร (Variable) ที่มักจะมีตัวแปรต้น 2 ตัวแปร หรือตัวแปรตาม 1 ตัวแปร ให้เหมาะกับการใช้สถิติ หรือการวิเคราะห์อย่างง่าย

และงานวิทยานิพนธ์นั้นจะศึกษาแนวคิดความสัมพันธ์เชิงเหตุผล (Causal Relationship) และมีจำนวนตัวแปรที่มากกว่าสารนิพนธ์ ซึ่งมักจะมี 4-5 ตัวแปรขึ้นไป และจะมีการใช้สถิติที่ซับซ้อนในการวิเคราะห์ข้อมูล เช่น T-test independent และหรือ F-test

และในส่วนของการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ หรือการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) นั้น จะมีความเข้มข้นของความถูกต้อง (Validity) และความเชื่อมั่น (Reliability) ที่แตกต่างกัน

ความเข้มข้นในการตั้งโจทย์คำถามการวิจัย เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่แม่นยำ

คำถามที่ตั้งควรเป็นคำถามที่เฉพาะเจาะจง เพราะการทำงานนิพนธ์คือการหาคำตอบเพื่อใช้ในการคำถามการวิจัยในประเด็นหัวข้อปัญหาที่ได้ตั้งไว้ให้ครบถ้วน หากตั้งคำถามในการวิจัยไม่ชัดเจนหรือมากเกินไป คำตอบที่ได้รับอาจจะไม่ชัดเจนหรือหลาดเคลื่อนได้เช่นกัน

อีกทั้งคำถามที่ตั้งนั้นจะต้องมีความสอดคล้องและเหมาะสมกับเครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลการวิจัย ซึ่งเครื่องมือที่นิยมใช้ส่วนใหญ่จะมี 2 ประเภท คือ การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามในการวัดผล คือมาตรประมาณค่า (Rating Scale) และการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ส่วนใหญ่จะใช้เป็นแบบสัมภาษณ์ (Interview Form) เพื่อนำมาวิเคราะห์ข้อมูล

ประสบการณ์ที่ได้รับจากการศึกษาที่แตกต่างกัน

หากคุณต้องการศึกษาต่อในระดับปริญญาเอก คุณควรจะเลือกทำงานวิทยานิพนธ์ เพราะกระบวนการศึกษางานวิทยานิพนธ์มีขั้นตอนที่ซับซ้อน ต้องค้นคว้าข้อมูลเพื่อใช้ในการสนับสนุนเนื้อหางานที่แน่นหนา ทำให้ผู้ศึกษามีความรู้เพิ่มพูนมากขึ้นเป็นที่ยอมรับทางวิชาการ จึงทำให้มีโอกาสเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกได้ง่ายกว่า

ดังนั้น สารนิพนธ์กับวิทยานิพนธ์ แตกต่างกันอย่างเป็นได้ชัดคือ หลักการของการทำงานสารนิพนธ์สารนิพนธ์จะมีเฉพาะในบางสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อในหลักสูตรต่างๆ และจะต้องทำการศึกษาที่มีคุณภาพและมาตรฐานทางวิชาการเช่นเดียวการทำงานวิทยานิพนธ์ ซึ่งอาจจะมีกระบวนการในการศึกษาวิจัยที่ไม่ซับซ้อนหรือเข้มข้นเท่ากับการทำงานวิทยานิพนธ์

และทั้งหมดนี่คือข้อแตกต่างระหว่างวิทยานิพนธ์ (Thesis)กับสารนิพนธ์ (IS) อะไรที่คิดว่าเหมาะกับตัวคุณก็เลือกเรียนแบบนั้นได้เลยค่ะ 🙂

Credit: https://bit.ly/3B3IOAY

Share:

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on pinterest
Pinterest
Share on linkedin
LinkedIn

ขอคำปรึกษา

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

Table of Contents

On Key

Related Posts

วิจัยเผย : ความเครียดก่อโรคหัวใจสูงและเสี่ยงกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง

วิจัยเผย : ความเครียดก่อโรคหัวใจสูงและเสี่ยงกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง

จากการศึกษาของงานวิจัยในวารสารวิชาการด้านโรคหัวใจของยุโรป ยูโรเปียน ฮาร์ท เจอร์นัล ผลการวิจัยระบุว่าคนอายุต่ำกว่า 50 ปีลงมาซึ่งระบุว่างานของตัวเองเป็นงานที่เครียดมีความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจสูงกว่าคนที่ระบุว่างานที่ทำอยู่ไม่เครียดถึง 70% นอกจากการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลซึ่งแสดงถึงความรู้สึกของกลุ่มตัวอย่างต่องานของพวกเขาแล้วนักวิจัยยังได้ทำการตรวจวัดอัตราการเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต และปริมาณฮอร์โมนความเครียดหรือ ฮอร์โมนชื่อคอร์ติซอล (cortisol)  จากตัวอย่างเลือดด้วยพบว่าความเครียดยังไปมีผลขัดขวางการขับฮอร์โมนของส่วนของระบบนิวโรเอนโดคริน (neuroendocrine system) จนทำให้ร่างกายมีการขับฮอร์เครียด หรือคอร์ติซอล ออกมาในตอนเช้าในระดับที่สูงกว่าปกติด้วย ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรงจากความเครียด หรือ Broken Heart Syndrome พบมากในหญิงวัยกลางคน

งานวิจัยเผย : แม่เคยมีแฟนมาแล้วกี่คน ลูกก็จะมีแฟนจำนวนพอกันกับแม่

งานวิจัยเผย : แม่เคยมีแฟนมาแล้วกี่คน ลูกก็จะมีแฟนจำนวนพอกันกับแม่

จากการศึกษาของ Ohio State University พบว่าแม่อาจส่งผ่านบุคลิกภาพหรือทักษะด้านความสัมพันธ์บางอย่างจากรุ่นสู่รุ่น โดย Dr.Claire Kamp Dush ผู้ริเริ่มการศึกษานี้กล่าวว่า แม่ๆ แต่ละคนมีลักษณะนิสัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อการแต่งงานและความสัมพันธ์ ซึ่งลักษณะนิสัยเหล่านั้น จะกลายเป็นมรดกส่งต่อถึงรุ่นลูก โดยอาจเป็นตัวกำหนดว่าลูกจะได้แต่งงานช้าหรือเร็ว และมีความสัมพันธ์ที่มั่นคงหรือไม่  . ใครเคยคุยเรื่องความรักกับแม่บ้าง แล้วเคยนึกสงสัยรึเปล่า ว่าแม่ของเราเคยมีแฟนมาแล้วกี่คน? รู้ไหมว่าถ้าลองถามดูดีๆ อาจพบว่า จำนวนแฟนที่แม่เคยมี นั้นพอๆ

งานวิจัยเผย : ความสัมพันธ์ของคู่รักส่งผลต่อ ‘สุขภาพ’

งานวิจัยเผย : ความสัมพันธ์ของคู่รักส่งผลต่อ ‘สุขภาพ’

จากการศึกษาของทีมนักวิจัย มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ทำการศึกษาถึงพลวัตรของความสัมพันธ์ระยะยาว ผ่านวิธีคิดเชิงพื้นที่สัมพันธ์ (Spatial Proximity) และก็ค้นพบว่า เมื่อคู่รักหรือคู่แต่งงานนั้นมีความใกล้ชิดกัน อัตราการเต้นของหัวใจของพวกเขาจะประสานเข้าหากันในรูปแบบที่มีความซับซ้อน ตามแต่การปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน ไบรอัน โอกอลสกี้ รองศาสตราจารย์จากแผนกการพัฒนามนุษย์และครอบครัวศึกษา มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ ระบุว่า นักวิจัยด้านความสัมพันธ์มักจะถามผู้คนว่าชีวิตเขาเป็นอย่างไรบ้าง และมักคิดว่าผู้คนเหล่านั้นจะสามารถจดจำหรือให้คำตอบได้อย่างลึกซึ้ง แต่กับผู้คนที่ใช้ชีวิตคู่อยู่ด้วยกันมานาน 30 – 40 ปี เมื่อถามถึงเรื่องเหล่านี้หรือพวกคำถามว่าพึงพอใจกับชีวิตคู่ขนาดไหน พวกเขามักจะหัวเราะใส่เสมอ

งานวิจัยเผย : อากาศหนาวทำให้อ้วนขึ้น

งานวิจัยเผย : อากาศหนาวทำให้อ้วนขึ้น

จากการศึกษาโดย พญ.ธิดากานต์ รุจิพัฒนกุล หรือ “หมอผิง” ผู้เชี่ยวชาญด้านศาสตร์การชะลอวัยและกูรูด้านสุขภาพบนโซเชียลเน็ตเวิร์ก พบว่า อากาศหนาวอาจส่งผลให้คนเราหิวเก่งขึ้น โดยเฉพาะอาหารแคลอรี่สูง วิจัยในอเมริกาพบว่าคนน้ำหนักขึ้นเฉลี่ย 0.5-1 กก. ในฤดูหนาว เป็นผลจากกินเพิ่มขึ้นและออกกำลังน้อยลง . ผลกระทบที่เกิดต่อร่างกายจากอากาศหนาว ซึ่งอากาศที่หนาวเย็นอาจทำให้อุณหภูมิภายในร่างกายเปลี่ยนแปลงไป จนอาจเกิดความผิดปกติต่าง ๆ ขึ้น โดยเฉพาะในเด็ก ผู้สูงอายุ สตรีมีครรภ์ ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพในระยะยาวอย่างโรคหัวใจ มีปัญหาสุขภาพจิต