ความสำคัญของการทำวิจัย 5 ข้อ ที่คุณไม่เคยรู้

ความสำคัญของการทำวิจัยนั่นเรียบง่ายกว่าที่เราส่วนใหญ่คิดและหัวใจหลักของการทำวิจัยคือวิจัยเพื่อดับทุกข์

ก่อนอื่นเลยเราต้องลองนึกย้อนกลับไปเมื่อหลายร้อยปีก่อนหลายๆสิ่งที่เกิดขึ้นบนโลกใบนี้จากอดีตจนถึงปัจจุบันนวัตกรรมใหม่ๆเทคโนโลยีใหม่ๆที่เราได้เห็นได้ใช้ในทุกวันนี้มันก็เกิดมาจากความสงสัยของใครสักคนที่รู้จักการตั้งคำถามแล้วนำไปสู่การคิดการค้นหาซ้ำแล้วซ้ำเล่าจนได้ข้อสรุปที่ดีที่สุดในตอนนั้นหรือที่เราเรียกว่าการทำวิจัยนั่นแหละค่ะถ้าเทียบกับทางพระพุทธศาสนางานวิจัยก็เปรียบเสมือนหนทางดับทุกข์ทำแล้วช่วยให้คลายปัญหาคลายข้อสงสัยและสุดท้ายเมื่อปัญหาถูกแก้สิ่งใหม่ๆก็จะสามารถเกิดขึ้นได้ในที่สุด 

แล้วเคยสงสัยค่ะว่าภาครัฐจะออกนโยบายทางการศึกษาหรือทำวิจัยไปเพื่ออะไรทำไมต้องทำและวันนี้เราจะมาไขข้อสงสัยไปพร้อมๆกันกับความสำคัญของการทำวิจัย 5 ข้อที่คุณไม่เคยรู้ดังนี้

1. ทำวิจัยเพื่อตอบข้อสงสัยของเรา

ในชีวิตปกติของเราได้ผ่านการทำวิจัยกันมาแล้วไม่ว่าจะซื้อบ้านซื้อของแต่งงานซื้อรถล้วนแล้วผ่านการทำการสืบค้นหาทางเลือกมาแล้วทั้งนั้นแถมยังมีการเปรียบเทียบต่างๆเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ดีที่สุดสำหรับตัวเราเราทำวิจัยเพื่อตอบสนองความสงสัยใคร่รู้ของเรานั่นเอง

2. ทำวิจัยเพื่อให้เกิดความเข้าใจ

ต้องยอมรับค่ะว่าปัจจุบันนี้มีวิทยาการใหม่ๆเพิ่มพูนเกิดขึ้นเยอะมากทั้งด้านทฤษฎีและปฎิบัติดังนั้นจึงต้องมีการทำการวิจัยเพื่อเกิดความเข้าใจปัญหาเข้าใจพฤติกรรมมนุษย์จะช่วยให้เกิดการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพและยุติธรรมขึ้นแถมยังทำให้เราเข้าใจและทำนายปรากฎการณ์และพฤติกรรมต่างๆได้อีก 

3. ทำวิจัยเพื่อให้เกิดการเรียนรู้

กระตุ้นให้มีเหตุผลรู้จักคิดและค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมเนื่องจากธรรมชาติของมนุษย์มีความอยากรู้อยากเห็นอยากทราบเหตุผลและปรากฏการณ์ของสิ่งต่างที่เกิดขึ้นจึงทำการวิจัยเพื่อค้นหาคำตอบสิ่งใดที่พอรู้อยู่บ้างก็ทำให้รู้และเข้าใจดียิ่งขึ้นเป็นการเพิ่มพูนวิทยาการให้กว้างขวางลึกซึ้ง 

4. ทำวิจัยเพื่อแก้ปัญหา

เพื่อนำผลที่ได้จากการวิจัยไปวางแผนหรือกำหนดวิธีการในการควบคุมสิ่งต่างให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นเช่นการวิจัยหาสาเหตุที่ทำให้ผลการเรียนของนักเรียนตกต่างเมื่อพบสาเหตุก็สามารถหาทางควบคุมหรือป้องกันได้

5. ทำวิจัยเกิดสิ่งใหม่ๆ

เป็นการศึกษาค้นคว้าเพื่อให้เกิดความรู้ใหม่สิ่งใหม่ที่ไม่เคยมีใครศึกษามาก่อนแล้วนำมาพัฒนาตอบสนองให้ชีวิตมนุษย์ดีขึ้นอย่างเช่นคอมพิวเตอร์โทรศัพท์มือถือและอินเตอร์เน็ทซึ่งเกิดจากแนวคิดนำเอาเทคโนโลยีมาผสมผสานรวมกันจนมีให้เราได้ติดต่อสื่อสารกันอย่างทุกวันนี้และทั้งหมดนี้ก็คือประโยชน์ของการวิจัยคงจะพอหายสงสัยกันแล้วใช่ไหมค่ะเมื่อหายสงสัยแล้วมาเริ่มผจญภัยทำความเข้าใจกับงานวิจัยกันต่อเลยค่ะ

และทั้งหมดนี้ก็คือความสำคัญของการทำวิจัย 5 ข้อที่คุณไม่เคยรู้คงจะพอหายสงสัยกันแล้วใช่ไหมค่ะถ้าเห็นว่าเป็นประโยชน์อย่าลืมแชร์ให้เพื่อนๆด้วยนะคะ

Share:

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on pinterest
Pinterest
Share on linkedin
LinkedIn

ขอคำปรึกษา

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

Table of Contents

On Key

Related Posts

วิจัยเผย : ความเครียดก่อโรคหัวใจสูงและเสี่ยงกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง

วิจัยเผย : ความเครียดก่อโรคหัวใจสูงและเสี่ยงกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรง

จากการศึกษาของงานวิจัยในวารสารวิชาการด้านโรคหัวใจของยุโรป ยูโรเปียน ฮาร์ท เจอร์นัล ผลการวิจัยระบุว่าคนอายุต่ำกว่า 50 ปีลงมาซึ่งระบุว่างานของตัวเองเป็นงานที่เครียดมีความเสี่ยงในการเป็นโรคหัวใจสูงกว่าคนที่ระบุว่างานที่ทำอยู่ไม่เครียดถึง 70% นอกจากการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลซึ่งแสดงถึงความรู้สึกของกลุ่มตัวอย่างต่องานของพวกเขาแล้วนักวิจัยยังได้ทำการตรวจวัดอัตราการเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต และปริมาณฮอร์โมนความเครียดหรือ ฮอร์โมนชื่อคอร์ติซอล (cortisol)  จากตัวอย่างเลือดด้วยพบว่าความเครียดยังไปมีผลขัดขวางการขับฮอร์โมนของส่วนของระบบนิวโรเอนโดคริน (neuroendocrine system) จนทำให้ร่างกายมีการขับฮอร์เครียด หรือคอร์ติซอล ออกมาในตอนเช้าในระดับที่สูงกว่าปกติด้วย ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอ่อนแรงจากความเครียด หรือ Broken Heart Syndrome พบมากในหญิงวัยกลางคน

งานวิจัยเผย : แม่เคยมีแฟนมาแล้วกี่คน ลูกก็จะมีแฟนจำนวนพอกันกับแม่

งานวิจัยเผย : แม่เคยมีแฟนมาแล้วกี่คน ลูกก็จะมีแฟนจำนวนพอกันกับแม่

จากการศึกษาของ Ohio State University พบว่าแม่อาจส่งผ่านบุคลิกภาพหรือทักษะด้านความสัมพันธ์บางอย่างจากรุ่นสู่รุ่น โดย Dr.Claire Kamp Dush ผู้ริเริ่มการศึกษานี้กล่าวว่า แม่ๆ แต่ละคนมีลักษณะนิสัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อการแต่งงานและความสัมพันธ์ ซึ่งลักษณะนิสัยเหล่านั้น จะกลายเป็นมรดกส่งต่อถึงรุ่นลูก โดยอาจเป็นตัวกำหนดว่าลูกจะได้แต่งงานช้าหรือเร็ว และมีความสัมพันธ์ที่มั่นคงหรือไม่  . ใครเคยคุยเรื่องความรักกับแม่บ้าง แล้วเคยนึกสงสัยรึเปล่า ว่าแม่ของเราเคยมีแฟนมาแล้วกี่คน? รู้ไหมว่าถ้าลองถามดูดีๆ อาจพบว่า จำนวนแฟนที่แม่เคยมี นั้นพอๆ

งานวิจัยเผย : ความสัมพันธ์ของคู่รักส่งผลต่อ ‘สุขภาพ’

งานวิจัยเผย : ความสัมพันธ์ของคู่รักส่งผลต่อ ‘สุขภาพ’

จากการศึกษาของทีมนักวิจัย มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้ทำการศึกษาถึงพลวัตรของความสัมพันธ์ระยะยาว ผ่านวิธีคิดเชิงพื้นที่สัมพันธ์ (Spatial Proximity) และก็ค้นพบว่า เมื่อคู่รักหรือคู่แต่งงานนั้นมีความใกล้ชิดกัน อัตราการเต้นของหัวใจของพวกเขาจะประสานเข้าหากันในรูปแบบที่มีความซับซ้อน ตามแต่การปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน ไบรอัน โอกอลสกี้ รองศาสตราจารย์จากแผนกการพัฒนามนุษย์และครอบครัวศึกษา มหาวิทยาลัยอิลลินอยส์ ระบุว่า นักวิจัยด้านความสัมพันธ์มักจะถามผู้คนว่าชีวิตเขาเป็นอย่างไรบ้าง และมักคิดว่าผู้คนเหล่านั้นจะสามารถจดจำหรือให้คำตอบได้อย่างลึกซึ้ง แต่กับผู้คนที่ใช้ชีวิตคู่อยู่ด้วยกันมานาน 30 – 40 ปี เมื่อถามถึงเรื่องเหล่านี้หรือพวกคำถามว่าพึงพอใจกับชีวิตคู่ขนาดไหน พวกเขามักจะหัวเราะใส่เสมอ

งานวิจัยเผย : อากาศหนาวทำให้อ้วนขึ้น

งานวิจัยเผย : อากาศหนาวทำให้อ้วนขึ้น

จากการศึกษาโดย พญ.ธิดากานต์ รุจิพัฒนกุล หรือ “หมอผิง” ผู้เชี่ยวชาญด้านศาสตร์การชะลอวัยและกูรูด้านสุขภาพบนโซเชียลเน็ตเวิร์ก พบว่า อากาศหนาวอาจส่งผลให้คนเราหิวเก่งขึ้น โดยเฉพาะอาหารแคลอรี่สูง วิจัยในอเมริกาพบว่าคนน้ำหนักขึ้นเฉลี่ย 0.5-1 กก. ในฤดูหนาว เป็นผลจากกินเพิ่มขึ้นและออกกำลังน้อยลง . ผลกระทบที่เกิดต่อร่างกายจากอากาศหนาว ซึ่งอากาศที่หนาวเย็นอาจทำให้อุณหภูมิภายในร่างกายเปลี่ยนแปลงไป จนอาจเกิดความผิดปกติต่าง ๆ ขึ้น โดยเฉพาะในเด็ก ผู้สูงอายุ สตรีมีครรภ์ ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพในระยะยาวอย่างโรคหัวใจ มีปัญหาสุขภาพจิต