เทคนิคแก้ภาวะ BURNOUT SYNDROME

เชื่อว่าทุกคนต้องเคยเจอปัญหานี้อย่างแน่นอน หรือถ้าใครไม่รู้ว่าอาการมันเป็นยังไงมาทำความรู้จักกัน

BURNOUT SYNDROME ภาวะการหมดไฟคืออะไร?

BURNOUT SYNDROME คือ ภาวะการเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจที่เกิดจากความเครียด จนบางครั้งรู้สึกมีความเหนื่อยล้าทางอารมณ์ เบื่อหน่าย ไม่หยิบจับทำอะไร รู้สึกสูญเสียพลังงานทางจิตใจ มองงานที่กำลังอยู่ในเชิงลบ ขาดความสุข สนุกในเนื้องาน หมดแรงจูงใจประสิทธิภาพการทำงานต่ำลง บางรายอาจรู้สึกเหินห่างจากเพื่อนร่วมงาน จนทำให้ความมีความรู้สึกหมดเรี่ยวแรงไม่อยากทำอะไร ไม่มีอารมณ์เขียนงานวิจัย

พฤติกรรมที่จะทำให้เราเป็น BURNOUT SYNDROME 

มันเป็นความอ่อนล้าทางอารมณ์ จิตใจ และร่างกายจากการที่เราต้องเผชิญหน้ากับงานที่หนักมากก และเครียดติดต่อกันเป็นเวลานาน เช่น

●​เขียนงานหนักมาก ติดกันหลายๆวัน ในเวลาอันจำกัด อาจารย์เร่งจนไฟรนก้นแล้วค่ะ

●​เขียนไปโดยไร้จุดหมาย ไร้ความมั่นใจ ไม่รู้เลยว่ามันถูกต้องหรือไม่ เขียนไปอย่างงั้นแหละไม่มีใครอนุมัติได้เลย ต้องรออาจารย์อย่างเดียว

●​ระบบจัดเรียงลำดับความสำคัญเริ่มพังง งงไปหมด ทำอะไรก่อนดี แก้อันไหนก่อนดี

●​รู้สึกว่าแก้เท่าไหร่ก็ไม่เห็นจะผ่านเลย ไม่เห็นอนาคตของตัวเองที่จะผ่านได้เลยด้วย โดยภาวะเริ่มแรกจะเกิดขึ้นเมื่อน้องๆ รู้สึกว่าตัวเองรับมือกับงานต่างๆ ไม่ไหวอีกต่อไป จนอยากจะเท! เท!! เททุกอย่าง!!!

ซึ่งหากเรามีพฤติกรรมเหล่านี้ มันจะส่งผลถึงผลเสียตามาม ดังนี้เลย

●​เหนื่อยล้า อ่อนเพลีย หมดเรี่ยวแรง

●​ปวดเมื่อย ปวดไมเกรนบ่อยๆ

●​นอนไม่หลับ

●​รู้สึกท้อแท้ สิ้นหวัง รู้สึกว่าตนไร้คุณค่าในตัวเอง

●​หงุดหงิด โมโหง่ายมากกก

●​เมินงาน อยากเทก็เท

●​ไม่อยากยุ่งกับผู้อื่นๆ อยากแยกตัวอยู่คนเดียว

เทคนิคแก้ไขภาวะ BURNOUT SYNDROME ให้ดีขึ้น

1. นอนหลับพักผ่อนให้เป็นเวลา อย่าเสียเวลาไปกับความกังวลในเรื่องงานของคุณ และพยายามพัฒนาทักษะในการจัดการปัญหา

2. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ กินอาหารที่มีประโยชน์ ดื่มน้ำเปล่าเยอะๆ

3. ลดความเครียดลง โดยการหากิจกรรมทำนอกเวลา ฟังเพลง ดูหนัง ออกกำลังกาย เป็นไปได้ลาพักร้อนเป็นระยะเวลาสั่นๆ

4. จัดลำดับความสำคัญของงาน ลดงานบางอย่างที่ไม่จำเป็นต้องลงแรงพร้อมกัน เช่น ใช้เวลาทำงานสำคัญและเร่งด่วนก่อน อาจจะเป็นงานที่คะแนนเยอะ ส่งใน 1-3 วัน ส่วนงานที่ก็สำคัญแต่ไม่เร่งด่วน เช่น อ่านหนังสือเตรียมสอบ ก็อาจจะจัดตารางแทรกอ่านระหว่างวันหรือรอทำหลังจากงานด่วนผ่านไปแล้วก็ได้

5. ปรับทัศนคติในการทำงาน ทำความเข้าใจในเนื้องาน และองค์กรที่ทำงานด้วย

6. เปิดใจให้กับคนรอบข้าง อย่าลังเลที่จะปรึกษาเพื่อนร่วมงานหรือหัวหน้างาน พยามหลีกเลี่ยงกับคนที่มีความคิดในแง่ลบ ยอมรับความแตกต่างของคน และเปิดใจรับฟังความคิดเห็นที่อาจไม่ตรงกัน

และนี่คือ เทคนิคแก้ภาวะ Burnout syndrome ถ้าน้องๆ มีความคิดว่า “งานของเราต้องดีที่สุด!” ดีที่สุดของเรากับดีที่สุดของอาจารย์กับเรา มันไม่เหมือนกันนะคะ บางงานเราลงแรงหนักมาก คิดว่าดีแน่นอน ผลลัพธ์กลับออกมาไม่ดี ดังนั้น แค่การทำวิจัยก็หนักพออยู่แล้ว อย่ากดดันตัวเองเลยค่ะ อย่าแบกทุกอย่างไว้บนบ่า อยากจะเทก็เทไปก่อนในช่วงเวลาหนึ่ง เมื่อเติมไฟเต็มที่ก็ค่อยกลับมาลุยงานวิจัยกันต่อค่า

Share:

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on pinterest
Pinterest
Share on linkedin
LinkedIn

ขอคำปรึกษา

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

Table of Contents

On Key

Related Posts

การใช้สื่อสังคมออนไลน์ต่อสุขภาพจิตและความเสี่ยงในโรคซึมเศร้า

การใช้สื่อสังคมออนไลน์ต่อสุขภาพจิตและความเสี่ยงในโรคซึมเศร้า

การใช้สื่อสังคมออนไลน์เป็นส่วนสำคัญของการสื่อสารและการแลกเปลี่ยนข้อมูลในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม การใช้สื่อสังคมออนไลน์นั้นอาจมีผลกระทบต่อสุขภาพจิตของบุคคล และเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคซึมเศร้าได้ด้วย 💁🏻‍♀️ ตามรายงานวิจัยของสถาบันภาพยนตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพแห่งชาติ (National Institute of Mental Health) ประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่า ผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ที่ใช้เวลาในการใช้งานมากกว่า 2 ชั่วโมงต่อวัน มีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะซึมเศร้าได้สูงขึ้น หรือมีการสะสมความเครียดเพิ่มขึ้น การใช้สื่อสังคมออนไลน์อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพจิตของบุคคลได้อย่างหลากหลายรูปแบบ ซึ่งอาจมีผลกระทบที่ดีหรือเสียต่อบุคคลแต่ละคนตามความเป็นจริงของสถานการณ์และวิธีการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ดังนี้ อย่างไรก็ตาม สื่อสังคมออนไลน์ก็สามารถใช้เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมสุขภาพจิตได้ โดยการเข้าร่วมกลุ่มหรือชุมชนออนไลน์ที่เกี่ยวกับการสนทนาเกี่ยวกับสุขภาพจิต การแชร์ประสบการณ์

จัดหนักจัดเต็มทุกงานวิจัย

จัดหนักจัดเต็มทุกงานวิจัย

💁‍♀️ Thesis Thailand จัดหนักจัดเต็ม พร้อมช่วยแนะนำให้คำปรึกษาทุกงานวิจัย 🤩 และกระบวนการให้คำปรึกษางานวิจัยของ Thesis Thailand เป็นอย่างไรบ้างนั้น สามารถดูเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ของเราคลิกเลย👉🏻https://thesisthailand.co.th  🗣 ติดต่อสอบถามปรึกษาปัญหาวิจัย 📲  📲 LINE: @THESISTH 📞 TEL: 063-207-3864 ✉️ INBOX: https://m.me/thesisthailand #วิจัยตัวร้าย #รับทำวิจัย

ครบเครื่องเรื่องงานวิจัยได้ที่Thesis Thailand

ครบเครื่องเรื่องงานวิจัยได้ที่Thesis Thailand

✨ การที่งานวิจัยจะถือว่า “ครบเครื่อง” จะต้องทำครบทุกส่วนประกอบอย่างเป็นระบบแบบมีคุณภาพสูงสุด 👏🏻 ดังนั้น การเลือกใช้บริการจาก Thesis Thailand ที่ปรึกษาในการทำงานวิจัยหลากหลายด้าน ผู้เชี่ยวชาญระดับชั้นการศึกษาต่างๆ จนถึงปริญญาเอก 👍🏻 พร้อมให้บริการด้านงานวิจัยได้อย่างครบครันเพื่อคุณ 🤩 🗣 ติดต่อสอบถามปรึกษาปัญหาวิจัย 📲  📲 LINE: @THESISTH 📞 TEL: 063-207-3864 ✉️

สุดยอดทีมงานวิจัยที่พร้อมช่วยคุณ

สุดยอดทีมงานวิจัยที่พร้อมช่วยคุณ

“เราเป็นผู้นำอันดับ 1 ของโลกด้านการเขียนเชิงวิชาการออนไลน์ โดยได้รับความไว้วางจากลูกค้า คุณภาพระดับสาขา” บริการที่ยืดหยุ่นสำหรับทุกขั้นตอนการทำงานของคุณ ไม่ว่าคุณจะทำวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกเสร็จมากแค่ไหน เราก็พร้อมจะเข้าไปมีส่วนร่วม ติดต่อสอบถามปรึกษาปัญหาวิจัย 📲 🔹 LINE: @THESISTH 🔹TEL: 063-207-3864 🔹 INBOX: https://m.me/thesisthailand #วิจัยตัวร้าย #รับทำวิจัย #รับทำการบ้าน #วิจัยปี4 #วิจัยปโท #รับทำวิทยานิพนธ์ #วิทยานิพนธ์