- หาให้เจอ หาแหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัยมีทั้งงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย และ งบประมาณแผ่นดิน ได้แก่ วช. สกอ. สกว. และหน่วยงานอื่น ๆ หรือการสืบค้น จากเครือข่ายทางอินเทอร์เน็ต ที่สะดวกคือ BIODATA เป็นฐานข้อมูลนักวิชาการ ประเทศไทย ซึ่งต้องสมัครเป็นสมาชิกก่อนแต่จะมีประโยชน์เป็นอย่างมาก ทำให้รู้ แหล่งทุนทั้งในและภายนอกประเทศครบถ้วน จะได้รู้ช่วงเวลาการขอทุนและ เงื่อนไขของแหล่งทุนนั้น ๆ จะได้มีเวลาเพียงพอในการเตรียมการต่อไป หาความสนใจและความถนัดในงานวิจัยด้านใด มีบุคคลหรือหน่วยงาน ที่สามารถสนับสนุนในการด าเนินการวิจัยเรื่องนั้นๆ ได้หรือไม่ ข้อสำคัญงานวิจัย นั้นต้องมีประโยชน์ต่อส่วนรวม พัฒนาองค์ความรู้ใหม่ มีคุณค่าต่อการพัฒนาใน อนาคต
- เลือกให้โดน เลือกแหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัยให้เหมาะสมกับงานวิจัย เพราะบาง แหล่งทุนมีการกำหนดขอบเขตและรายละเอียดของภารกิจให้ผู้วิจัยอยู่ก่อนแล้ว หรือที่เรียกว่า TOR (Team of Reference) หรือเลือกหัวข้อวิจัยจากปัญหาจริง ๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชนหรือท้องถิ่น
- ค้นให้เป็น ค้นคว้าและศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย จะได้ตีโจทย์วิจัยให้ แตกว่าสำคัญเร่งด่วนคือเรื่องอะไร สามารถสืบค้นตัวอย่างงานวิจัยจากฐานข้อมูล ในประเทศอย่าง Thai Digital Collection (TDC) หรือจากฐานข้อมูลที่เป็นสากล เช่น ScienceDirect และ American Chemical Society (ACS)
- เขียนให้ได้ การเขียนโครงร่างงานวิจัย ต้องทำตามรูปแบบของแหล่งทุนสนับสนุน งานวิจัยทุกประการ โดยรูปแบบจะขึ้นอยู่กับแหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัยเป็นผู้ กำหนด แต่จะมีรูปแบบและหัวข้อที่คล้ายคลึงกัน
สรุปการทำวิจัยควรทำเป็นเป็นกลุ่มที่มาจากหลากหลายสาขาวิชา เพื่อความ สมบูรณ์ของผลงานวิจัย รูปแบบของเอกสารโครงร่างงานวิจัยต้องเป็นไปตามที่แหล่งทุนสนับสนุน งานวิจัยกำหนดอย่างเคร่งครัด ตรวจทานอย่าให้เกิดคำผิดในเอกสารโครงร่างงานวิจัย การพิมพ์เอกสาร โครงร่างต้องเป็นระบบ ระเบียบ และสม่ำเสมอ ตรวจสอบหลักฐาน เอกสารต่าง ๆ ให้ครบถ้วนก่อนส่งและส่งให้ทัน กำหนดเวลา
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ต่อสุขภาพจิตและความเสี่ยงในโรคซึมเศร้า
การใช้สื่อสังคมออนไลน์เป็นส่วนสำคัญของการสื่อสารและการแลกเปลี่ยนข้อมูลในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม การใช้สื่อสังคมออนไลน์นั้นอาจมีผลกระทบต่อสุขภาพจิตของบุคคล และเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคซึมเศร้าได้ด้วย 💁🏻♀️ ตามรายงานวิจัยของสถาบันภาพยนตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพแห่งชาติ (National Institute of Mental Health) ประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่า ผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ที่ใช้เวลาในการใช้งานมากกว่า 2 ชั่วโมงต่อวัน มีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะซึมเศร้าได้สูงขึ้น หรือมีการสะสมความเครียดเพิ่มขึ้น การใช้สื่อสังคมออนไลน์อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพจิตของบุคคลได้อย่างหลากหลายรูปแบบ ซึ่งอาจมีผลกระทบที่ดีหรือเสียต่อบุคคลแต่ละคนตามความเป็นจริงของสถานการณ์และวิธีการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ดังนี้ อย่างไรก็ตาม สื่อสังคมออนไลน์ก็สามารถใช้เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมสุขภาพจิตได้ โดยการเข้าร่วมกลุ่มหรือชุมชนออนไลน์ที่เกี่ยวกับการสนทนาเกี่ยวกับสุขภาพจิต การแชร์ประสบการณ์