สิ่งที่ต้องรู้เบื้องต้น ก่อนเริ่มการทำวิจัย

หากคุณเป็นนักศึกษาที่พึ่งเริ่มเรียนปริญญาโท และไม่เคยทำการวิจัยมาก่อน สิ่งที่คุณต้องรู้คือก่อนจะจบการศึกษาได้นั้นคุณจะต้องทำวิทยานิพนธ์ซึ่งก็คือ เล่มรายงานการวิจัยเรื่องที่เรียบเรียงขึ้นจาก การศึกษาค้นคว้าวิจัยอย่างละเอียดและรอบคอบที่เกี่ยวข้องกับคณะและสาขาที่คุณศึกษา

สำหรับนักศึกษาปี 1 คุณยังมีเวลาเตรียมตัว และบทความนี้จะช่วยให้คุณเข้าใจสิ่งที่ต้องรู้เบื้องต้น ก่อนเริ่มการทำวิจัยในปีที่สองค่ะ

การวิจัย (Research) คือ วิธีการหนึ่งที่ใช้ค้นหาสาเหตุหรือที่มาของปัญหาอย่างมีขั้นตอนและเป็นระบบ

ระเบียบวิธีวิจัย (Research Methodology) คือ วิธีการค้นหาคำตอบจะทำเป็นกระบวนการ ใช้ค้นหาคำตอบ เป็นแบบแผนของการวิจัย ที่เริ่มตั้งแต่ การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลอย่างมีขั้นตอน

ทฤษฎี (Theory) คือ ผลของการวิจัยที่น่าเชื่อถือจะต้องอาศัยเครื่องมือในการพิสูจน์ ใช้พิสูจน์คำตอบ

ทฤษฎีกับงานวิจัย เป็นเครื่องมือที่จะนำมาใช้ในการอธิบายเหตุการณ์ หรือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น อย่างมีเหตุผล ตั้งแต่ขั้นตอน การวางแผน และออกแบบงานวิจัย (Research design) และขั้นตอนการอธิบายคำตอบหรือสนับสนุนคำตอบของงานวิจัย

ระเบียบวิธีวิจัยเชิงทดลอง (Experiment Research Methodology) เป็นการวิจัยที่ต้องทำในห้องทดลองหรือห้องปฏิบัติการ

ระเบียบวิธีวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive Research Methodology) เป็นการวิจัยที่อาศัยข้อมูลที่มีอยู่แล้วโดยมีผู้สำรวจไว้แล้ว หรือผู้วิจัยทำการสำรวจเอง

ประเภทของการวิจัย (Type of Research)

1. การวิจัยแบบทดลอง (Experimental Research) เป็นการวิจัยที่มีการควบคุมลักษณะบางอย่างที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์หนึ่งไว้เพื่อดูผลว่าจะเป็นอย่างไร

2. การวิจัยแบบบรรยาย (Descriptive Research) เป็นการวิจัยที่ต้องอาศัย การรวบรวมข้อมูล   เพื่อนำมาอธิบายหรือสรุปผลปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น

3. การวิจัยประวัติศาสตร์ (Historical Research) เป็นการวิจัยเพื่อค้นหาข้อเท็จจริงในอดีต ซึ่งจะเน้นหนักในการตรวจสอบ เป็นอะไรในอดีต

4. การวิจัยปัจจุบัน (Current Research) เป็นการวิจัยเพื่อค้นหาความจริง/สาเหตุของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน เป็นอะไรในปัจจุบัน

ขั้นตอนการทำวิจัย:

1. กำหนดเรื่อง/หัวข้อที่จะทำวิจัย  Research Headline

1.1  เลือกปัญหา

  • แนวทางในการเลือกปัญหาเพื่อทำวิจัย
    • เรื่องที่ควรทำวิจัย
    • การตั้งชื่อเรื่องงานวิจัย

1.2  วิเคราะห์ปัญหา = เหตุ   QUES   เขต   ข้อง   คำ   คาด

  • ที่มาของปัญหา สิ่งที่ต้องการทราบจากการวิจัย
    • ขอบเขตการวิจัย
    • สิ่งที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัย(ทฤษฎีที่จะนำมาใช้ในงานวิจัย)
    • ข้อความหรือคำที่เป็นปัญหา
    • คาดคะเนผลการวิจัย

2. วางแผนงานและออกแบบงานวิจัย Plan & Design

2.1   ระเบียบวิธีวิจัย                                                         

2.2   เครื่องมือวิธีวิจัย                                                         

2.3   วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล                                                  

2.4   การวิเคราะห์ข้อมูล                                                      

2.5   แผนการดำเนินการ                                                       

2.6   เขียนโครงการ                                                           

  • บทนำ
    • ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
    • วัตถุประสงค์ของการวิจัย
    • สมมติฐานของการวิจัย
    • ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
    • ขอบเขตของการวิจัย
    • ประชากร/กลุ่มตัวอย่าง
    • ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
    • นิยามศัพท์เฉพาะ
    • แนวคิดและทฤษฎี ตลอดจนงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    • ตัวแบบ/กรอบคิดในการวิจัย
    • ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้
    • รูปแบบการวิจัย (ระเบียบวิธีวิจัย)
    • เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล วิธีการเลือกตัวอย่าง
    • วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
    • เอกสารอ้างอิง

3.  เก็บรวบรวมข้อมูล

3.1  เตรียมการ สร้างเครื่องมือ/ออกแบบสอบถาม จัดทำคู่มือการลงรหัส

3.2  ปฏิบัติการ ในห้องทดลอง/ภาคสนาม

4. วิเคราะห์ข้อมูล ***

4.1  วิเคราะห์ข้อมูลขั้นต้น การบรรยายลักษณะกลุ่มตัวอย่าง

4.2  วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อตอบวัตถุประสงค์/ทดสอบสมมติฐาน

NThings of AnalysisResearch Outline
1เหตุที่มาของงานวิจัยความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
2สิ่งที่ต้องการทราบจากการวิจัย (Research Question)วัตถุประสงค์ของการวิจัย ประโยชน์ (Research Objective)
3ขอบเขตของการวิจัยประชากร ตัวอย่าง
4สิ่งที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยตัวแปรในการวิจัย กรอบแนวคิด
5ข้อความหรือคำที่เป็นปัญหานิยามศัพท์เฉพาะ
6คาดคะเนผลการวิจัยสมมติฐานของการวิจัย (Research Hypothesis)

5. เขียนรายงานการวิจัย

บทที่ 1   บทนำ                                                            

บทที่ 2   ทบทวนวรรณกรรม                                             

บทที่ 3   สมมติฐานและตัวแบบงานวิจัย                              

บทที่ 4   ระเบียบวิธีวิจัย                                                  

บทที่ 5   รายงานผลการวิจัย เสนอผลการวิเคราะห์ และอธิบายสรุปไม่ใส่ความคิดเห็น

บทที่ 6   สรุปผลการวิจัย อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ             

  • สรุปผลการวิจัย
  • จุดมุ่งหมาย
  • วิธีการวิจัย
  • ผลการวิจัย หรือสิ่งที่ค้นพบจากการวิจัย
  • อภิปรายผล สิ่งที่พบโดยยึดทฤษฎีเป็นแนวทาง
  • ข้อเสนอแนะ การใช้ผลการวิจัย สิ่งที่อาจจะทำวิจัยเพิ่มเติม
  • เอกสารอ้างอิง                                                               
  • ไอ-ที-ไฮ-เม็ด-รี-คอน-แอบ

สรุป

ประเภทของการออกแบบการวิจัย (Types of research design)

(1) การวิจัยเชิงสำรวจ (Exploratory research) เป็นการวิจัยเพื่อทำให้ปัญหาชัดเจน และกำหนดลักษณะของปัญหา กล่าวคือทำให้ลักษณะของปัญหาที่คลุมเครือชัดเจนขึ้น มีจุดมุ่งหมาย 3 ประการ

– การวิเคราะห์สถานการณ์ (Diagnosing a situation)

– การกลั่นกรองทางเลือก (Screening alternatives)

– การค้นหาความคิดใหม่ (Discovering new ideas)

(2) การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive research) เป็นการวิจัยที่ออกแบบเพื่ออธิบายถึงลักษะของประชากรหรือเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง

(3) การวิจัยเชิงเหตุผล (Causal research) เป็นการวิจัยเพื่อระบุความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเหตุ และผล (Cause-and-effect relationships)

(4) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) เป็นการวิจัยที่ศึกษาวิเคราะห์ด้วยข้อมูลเชิงคุณภาพ รวบรวมได้จากสภาพแวดล้อมที่เป็นจริง มีลักษณะขึ้นกับผู้ตอบ การวัดขึ้นอยู่กับการประเมินของผู้วิจัยมากกว่าการวิเคราะห์

Credit: https://bit.ly/3dcd55o

#เรียนวิจัย #รับติวสอบ #รับปรึกษางานวิจัย #ทำdissertation #ทำthesis #ทำวิทยานิพนธ์ #ทำวิทยานิพนธ์ปตรี #ทำวิทยานิพนธ์ปโท #ทำวิทยานิพนธ์ปเอก #สอนโปรแกรมSPSS #รับทำงานวิจัย #ที่ปรึกษางานวิจัย #รับทำดุษฎีนิพนธ์ #รับติววิทยานิพนธ์ #รับติวธีสิส #รับติวสารนิพนธ์ #รับติววิจัย #รับติวงานวิจัย #รับสอนวิทยานิพนธ์ #รับสอนธีสิส #รับสอนสารนิพนธ์ #รับสอนวิจัย #รับสอนงานวิจัย #รับปรึกษาวิทยานิพนธ์ #รับปรึกษาธีสิส #รับปรึกษาสารนิพนธ์ #รับปรึกษาวิจัย #รับปรึกษางานวิจัย #รับติววิทยานิพนธ์ปตรี #รับติววิทยานิพนธ์ปโท #รับติววิทยานิพนธ์ปเอก #รับสอนวิทยานิพนธ์ปตรี #รับสอนวิทยานิพนธ์ปโท #รับสอนวิทยานิพนธ์ปเอก #รับปรึกษาวิทยานิพนธ์ปตรี #รับปรึกษาวิทยานิพนธ์ปโท #รับปรึกษาวิทยานิพนธ์ปเอก #สอนทำวิจัย ##รับสอนดุษฎีนิพนธ์ #รับติวดุษฎีนิพนธ์ #รับปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ #ปรึกษาวิทยานิพนธ์ #ปรึกษาวิจัย #ปรึกษางานวิจัย #ทำวิจัยปโท #phdthesis #หัวข้อวิทยานิพนธ์ #รับทำdissertation #บริษัทรับทำวิจัย #รับเขียนบทความวิชาการ #thesiswriter #spssราคา #ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ #ทำวิจัยพยาบาล #รับปรึกษาวิจัย #ราคารับทำงานวิจัย

Share:

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on pinterest
Pinterest
Share on linkedin
LinkedIn

ขอคำปรึกษา

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

Table of Contents

On Key

Related Posts

การใช้สื่อสังคมออนไลน์ต่อสุขภาพจิตและความเสี่ยงในโรคซึมเศร้า

การใช้สื่อสังคมออนไลน์ต่อสุขภาพจิตและความเสี่ยงในโรคซึมเศร้า

การใช้สื่อสังคมออนไลน์เป็นส่วนสำคัญของการสื่อสารและการแลกเปลี่ยนข้อมูลในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม การใช้สื่อสังคมออนไลน์นั้นอาจมีผลกระทบต่อสุขภาพจิตของบุคคล และเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคซึมเศร้าได้ด้วย 💁🏻‍♀️ ตามรายงานวิจัยของสถาบันภาพยนตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพแห่งชาติ (National Institute of Mental Health) ประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่า ผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ที่ใช้เวลาในการใช้งานมากกว่า 2 ชั่วโมงต่อวัน มีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะซึมเศร้าได้สูงขึ้น หรือมีการสะสมความเครียดเพิ่มขึ้น การใช้สื่อสังคมออนไลน์อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพจิตของบุคคลได้อย่างหลากหลายรูปแบบ ซึ่งอาจมีผลกระทบที่ดีหรือเสียต่อบุคคลแต่ละคนตามความเป็นจริงของสถานการณ์และวิธีการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ดังนี้ อย่างไรก็ตาม สื่อสังคมออนไลน์ก็สามารถใช้เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมสุขภาพจิตได้ โดยการเข้าร่วมกลุ่มหรือชุมชนออนไลน์ที่เกี่ยวกับการสนทนาเกี่ยวกับสุขภาพจิต การแชร์ประสบการณ์

จัดหนักจัดเต็มทุกงานวิจัย

จัดหนักจัดเต็มทุกงานวิจัย

💁‍♀️ Thesis Thailand จัดหนักจัดเต็ม พร้อมช่วยแนะนำให้คำปรึกษาทุกงานวิจัย 🤩 และกระบวนการให้คำปรึกษางานวิจัยของ Thesis Thailand เป็นอย่างไรบ้างนั้น สามารถดูเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ของเราคลิกเลย👉🏻https://thesisthailand.co.th  🗣 ติดต่อสอบถามปรึกษาปัญหาวิจัย 📲  📲 LINE: @THESISTH 📞 TEL: 063-207-3864 ✉️ INBOX: https://m.me/thesisthailand #วิจัยตัวร้าย #รับทำวิจัย

ครบเครื่องเรื่องงานวิจัยได้ที่Thesis Thailand

ครบเครื่องเรื่องงานวิจัยได้ที่Thesis Thailand

✨ การที่งานวิจัยจะถือว่า “ครบเครื่อง” จะต้องทำครบทุกส่วนประกอบอย่างเป็นระบบแบบมีคุณภาพสูงสุด 👏🏻 ดังนั้น การเลือกใช้บริการจาก Thesis Thailand ที่ปรึกษาในการทำงานวิจัยหลากหลายด้าน ผู้เชี่ยวชาญระดับชั้นการศึกษาต่างๆ จนถึงปริญญาเอก 👍🏻 พร้อมให้บริการด้านงานวิจัยได้อย่างครบครันเพื่อคุณ 🤩 🗣 ติดต่อสอบถามปรึกษาปัญหาวิจัย 📲  📲 LINE: @THESISTH 📞 TEL: 063-207-3864 ✉️

สุดยอดทีมงานวิจัยที่พร้อมช่วยคุณ

สุดยอดทีมงานวิจัยที่พร้อมช่วยคุณ

“เราเป็นผู้นำอันดับ 1 ของโลกด้านการเขียนเชิงวิชาการออนไลน์ โดยได้รับความไว้วางจากลูกค้า คุณภาพระดับสาขา” บริการที่ยืดหยุ่นสำหรับทุกขั้นตอนการทำงานของคุณ ไม่ว่าคุณจะทำวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกเสร็จมากแค่ไหน เราก็พร้อมจะเข้าไปมีส่วนร่วม ติดต่อสอบถามปรึกษาปัญหาวิจัย 📲 🔹 LINE: @THESISTH 🔹TEL: 063-207-3864 🔹 INBOX: https://m.me/thesisthailand #วิจัยตัวร้าย #รับทำวิจัย #รับทำการบ้าน #วิจัยปี4 #วิจัยปโท #รับทำวิทยานิพนธ์ #วิทยานิพนธ์