รับทำวิจัยเยอะจนเครียด ทำไงดี? มารู้จัก 12 วิธีคลายเครียดง่ายๆที่ทุกคนทำได้

จริงๆแล้วความเครียดเป็นสิ่งที่ดีถ้าเราใช้มันอย่างถูกวิธี  แต่ถ้ามากเกินไปก็อาจจะเกิดอันตรายกับสุขภาพร่างกายและจิตใจของเราได้ เพราะความเครียดที่มากเกินไปคือต้นต่อของโรคต่างๆมากมายอย่างที่คุณคาดไม่ถึง เช่น อาการปวดศีรษะ โรคอัลไซเมอร์ โรคหัวใจ โรคหอบหืด โรคอ้วน รวมถึงโรควิตกกังวลและโรคซึมเศร้า เป็นต้น 

คุณเชื่อไหมว่าจริงๆแล้วความเครียดเป็นสิ่งจำที่ร่างกายมักจะเรียกใช้ยามมีปัญหาแถมยังช่วยเพิ่ม Productivity อีกด้วย แต่หลายๆครั้งความเครียดกลับเกิดจากความลังเลไม่ยอมตัดสินใจให้เด็ดขาดโดยใช่เหตุ ยกตัวอย่างให้เห็นภาพแบบง่ายๆคือเครียดเพราะตัดสินไม่ได้ว่าจะเลือกกิน ซื้อ หรือว่าจะทำหรือไม่ได้อะไรดี ฉะนั่นวันนี้ผมจะมาแชร์ 12 วิธีคลายเครียดง่ายๆที่ทุกคนทำได้

  1. หายใจเข้าลึก หยุดพักจากทุกสิ่งแล้วลองสำรวจลมหายใจตนเองสัก 5 นาที เริ่มต้นด้วยการนั่งหลังตรง หลับตา เอามือวางไว้ที่หน้าตัก จากนั้นหายใจเข้าลึก ๆ ด้วยจมูก แล้วค่อย ๆ ผ่อนลมหายใจออกทางปาก หรืออาจนั่งสมาธิเพื่อช่วยคลายเครียดด้วยก็ได้ ซึ่งหากทำเป็นประจำทุกวันก็อาจช่วยให้สมองรับมือกับความเครียดได้ดียิ่งขึ้น
  2. หัวเราะออกมาดัง แม้อยากจะเป็นการแกล้งทำก็ได้ เพราะการหัวเราะจนท้องแข็งไม่เพียงแต่ดีต่อจิตใจเท่านัั้น แต่ยังช่วยลดระดับฮอร์โมนคอร์ติซอลที่ร่างกายหลั่งออกมาตอนเครียด และยังช่วยกระตุ้นการหลั่งสารเอ็นโดรฟินซึ่งเป็นสารแห่งความสุขได้อีกด้วย
  3. ยิ้มให้กับทุกสิ่ง ไม่แปลกที่จะอารมณ์ไม่ดี โกรธ หรือโมโหในแต่ละวันที่ต้องเจอกับปัญหา แต่หากเราคิดบวกและเลือกที่จะยิ้มกว้าง ๆ ให้กับทุกสิ่ง ไม่เพียงจะช่วยให้ตัวเองคลายเครียดแล้ว ยังอาจช่วยให้ผู้คนรอบข้างยิ้มตามและมีความสุขได้เช่นกัน
  4. จัดระเบียบความคิด ไม่ว่าจะเป็นเรื่องงานหรือเรื่องส่วนตัว หากกลัวว่าจะพลาดเรื่องใดเรื่องหนึ่งไป ควรใช้เวลาอยู่กับตัวเองเพื่อจัดระเบียบความคิด แล้วอาจเขียนลงบนกระดาษ เขียนออกมาเป็นลำดับ หรือวาดภาพตามสะดวก เพราะวิธีนี้อาจช่วยให้คุณเห็นภาพความคิดของตนเองได้ชัดเจนยิ่งขึ้น
  5. ขยับร่างกายให้มากขึ้น ทั้งด้วยการออกกำลังกาย เล่นโยคะ ปั่นจักรยาน ว่ายน้ำ ปีนเขา ยกน้ำหนัก หรือเล่นกีฬา เพราะมันทั้งช่วยให้ร่างกายแข็งแรง และยังเพิ่มระดับเอ็นโดรฟินหรือสารอื่น ๆ ที่ดีต่อสุขภาพและอารมณ์ ซึ่งช่วยคลายเครียดได้เป็นอย่างดี 
  6. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ โดยเฉพาะการรับประทานอาหารหลัก 5 หมู่ เพราะจะช่วยให้ร่างกายได้รับสารอาหารที่ครบถ้วน เมื่อสุขภาพร่างกายแข็งแรง สุขภาพจิตก็ดีตามไปด้วยได้เช่นกัน
  7. พบปะผู้คนบางครั้งเวลาเครียด หลายคนอาจอยากอยู่คนเดียวและใช้เวลากับความคิดของตนเอง แต่การได้ออกไปพบปะเพื่อนฝูงหรือคนอื่น ๆ ในครอบครัว ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดกัน ก็อาจช่วยเบี่ยงเบนความสนใจจากเรื่องที่เครียดอยู่ และทำให้ผ่อนคลายได้มากขึ้น
  8. พักผ่อนให้เพียงพอ การนอนหลับถือเป็นการเติมพลังให้กับสมองและร่างกายได้เป็นอย่างดี หากนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอก็อาจส่งผลต่อร่างกาย สมาธิ ความคิด และอารมณ์ในแต่ละวันได้ ซึ่งการปล่อยวางความคิดทั้งเรื่องงานและเรื่องส่วนตัวก่อนเข้านอน การวางมือถือไว้ไกลตัว การสร้างบรรยากาศที่เงียบและผ่อนคลาย จะช่วยให้ประสิทธิภาพในการนอนดีขึ้นได้
  9. จดบันทึกไดอารี่ เป็นเหมือนการระบายความในใจ ความคิด และความรู้สึกในแต่ละวันผ่านการเขียน ซึ่งไม่จำเป็นต้องมีแบบแผนว่าจะเขียนออกมาในแนวไหน เพียงแค่จับปากกาแล้วเขียนไปเรื่อย ๆ ปล่อยไปตามความรู้สึกของตนเอง หรืออาจพิมพ์บันทึกลงในโทรศัพท์มือถือ โดยไม่จำเป็นต้องให้ใครอ่านไดอารี่ของตัวเอง เมื่อเขียนเสร็จก็สามารถฉีกทิ้งลงถังขยะ หรือจะเก็บไว้อ่านในอนาคตภายหน้าต่อไป เพื่อสะท้อนถึงความคิดของตัวเองในอดีตก็ได้เช่นกัน
  10. เลี้ยงสัตว์เป็นเพื่อน ทั้งสุนัข แมว แฮมสเตอร์ ปลา หรือสัตว์เลี้ยงอื่น ๆ ที่ชื่นชอบ สัตว์เหล่านี้จะช่วยฝึกให้ผู้เลี้ยงมีความอ่อนโยน และยังสามารถเพิ่มระดับสารเซโรโทนินและโดพามีน ซึ่งเป็นสารสื่อประสาทที่ช่วยปรับสมดุลของอารมณ์ให้คงที่ และมีความสัมพันธ์ต่อความรู้สึกสงบ ความสุข และช่วยให้ไม่วิตกกังวลด้วย
  11. เลิกเสียนิสัยที่ไม่ดี แต่ละคนก็มีวิธีการรับมือกับความเครียดที่แตกต่างกันออกไป บางคนสูบบุหรี่เวลาเครียด บางคนดื่มแอลกอฮอล์ บางคนอาจพบว่าการรับประทานอาหารปริมาณมาก ๆ ช่วยทำให้รู้สึกดีขึ้นได้ แต่นิสัยเหล่านี้ล้วนส่งผลเสียต่อสุขภาพ จึงควรปรับแนวคิดและพฤติกรรมให้ดีต่อสุขภาพมากขึ้น
  12. ปล่อยใจไปกับเสียงเพลง การฟังเพลงจากเพลย์ลิสต์สุดโปรดนับเป็นหนทางหนึ่งในการคลายเครียด เพราะนอกจากจะทำให้ผู้ฟังมีความรื่นเริงแล้ว ยังช่วยลดความตึงของกล้ามเนื้อ และลดระดับฮอร์โมนความเครียดในร่างกาย

อย่างไรก็ตาม 12 วิธีที่กล่าวไปนี้เป็นเพียงแนวทางให้คุณคลายเครียดได้ง่ายๆโดยบังคับให้ร่างกายรู้สึกวิตกกังวลน้อยลงและผ่อนคลายยิ่งขึ้น ซึ่งบางคนอาจจะหยิบเพียงไม่กีข้อในนี้ไปใช้แล้วก็ได้ผล แต่อาจจะมีบางคนลองทั้ง 12 วิธีแล้ว แต่ก็ยังรู้สึกวิตกกังวลอยู่ในจิตใจอยู่ดี ฉะนั่นผมจึงขอแชร์เพิ่มเติมอีกหน่อยว่า ลองเลือกทำในสิ่งที่ชอบและสบายใจที่สุดเพิ่มไปด้วยอีกอย่างหนึ่ง แล้วถ้าเกิดยังจัดการกับสภาวะเครียดที่คุณมีไม่ได้ก็ลองไปปรึกษาผู้เชี่ยวชาญหรือพบจิตแพทย์เพื่อหาสาเหตุ และแนวทางที่เหมาะสมที่สุดสำหรับคุณ คุณจะได้ค้นพบแนวทางการอยู่ร่วมกับสิ่งต่างๆได้อย่างมีความสุขยิ่งขึ้นครับ

Share:

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on pinterest
Pinterest
Share on linkedin
LinkedIn

ขอคำปรึกษา

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

Table of Contents

On Key

Related Posts

การใช้สื่อสังคมออนไลน์ต่อสุขภาพจิตและความเสี่ยงในโรคซึมเศร้า

การใช้สื่อสังคมออนไลน์ต่อสุขภาพจิตและความเสี่ยงในโรคซึมเศร้า

การใช้สื่อสังคมออนไลน์เป็นส่วนสำคัญของการสื่อสารและการแลกเปลี่ยนข้อมูลในปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม การใช้สื่อสังคมออนไลน์นั้นอาจมีผลกระทบต่อสุขภาพจิตของบุคคล และเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นโรคซึมเศร้าได้ด้วย 💁🏻‍♀️ ตามรายงานวิจัยของสถาบันภาพยนตร์และวิทยาศาสตร์สุขภาพแห่งชาติ (National Institute of Mental Health) ประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่า ผู้ใช้สื่อสังคมออนไลน์ที่ใช้เวลาในการใช้งานมากกว่า 2 ชั่วโมงต่อวัน มีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะซึมเศร้าได้สูงขึ้น หรือมีการสะสมความเครียดเพิ่มขึ้น การใช้สื่อสังคมออนไลน์อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพจิตของบุคคลได้อย่างหลากหลายรูปแบบ ซึ่งอาจมีผลกระทบที่ดีหรือเสียต่อบุคคลแต่ละคนตามความเป็นจริงของสถานการณ์และวิธีการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ดังนี้ อย่างไรก็ตาม สื่อสังคมออนไลน์ก็สามารถใช้เป็นเครื่องมือที่ช่วยส่งเสริมสุขภาพจิตได้ โดยการเข้าร่วมกลุ่มหรือชุมชนออนไลน์ที่เกี่ยวกับการสนทนาเกี่ยวกับสุขภาพจิต การแชร์ประสบการณ์

จัดหนักจัดเต็มทุกงานวิจัย

จัดหนักจัดเต็มทุกงานวิจัย

💁‍♀️ Thesis Thailand จัดหนักจัดเต็ม พร้อมช่วยแนะนำให้คำปรึกษาทุกงานวิจัย 🤩 และกระบวนการให้คำปรึกษางานวิจัยของ Thesis Thailand เป็นอย่างไรบ้างนั้น สามารถดูเพิ่มเติมได้ที่เว็บไซต์ของเราคลิกเลย👉🏻https://thesisthailand.co.th  🗣 ติดต่อสอบถามปรึกษาปัญหาวิจัย 📲  📲 LINE: @THESISTH 📞 TEL: 063-207-3864 ✉️ INBOX: https://m.me/thesisthailand #วิจัยตัวร้าย #รับทำวิจัย

ครบเครื่องเรื่องงานวิจัยได้ที่Thesis Thailand

ครบเครื่องเรื่องงานวิจัยได้ที่Thesis Thailand

✨ การที่งานวิจัยจะถือว่า “ครบเครื่อง” จะต้องทำครบทุกส่วนประกอบอย่างเป็นระบบแบบมีคุณภาพสูงสุด 👏🏻 ดังนั้น การเลือกใช้บริการจาก Thesis Thailand ที่ปรึกษาในการทำงานวิจัยหลากหลายด้าน ผู้เชี่ยวชาญระดับชั้นการศึกษาต่างๆ จนถึงปริญญาเอก 👍🏻 พร้อมให้บริการด้านงานวิจัยได้อย่างครบครันเพื่อคุณ 🤩 🗣 ติดต่อสอบถามปรึกษาปัญหาวิจัย 📲  📲 LINE: @THESISTH 📞 TEL: 063-207-3864 ✉️

สุดยอดทีมงานวิจัยที่พร้อมช่วยคุณ

สุดยอดทีมงานวิจัยที่พร้อมช่วยคุณ

“เราเป็นผู้นำอันดับ 1 ของโลกด้านการเขียนเชิงวิชาการออนไลน์ โดยได้รับความไว้วางจากลูกค้า คุณภาพระดับสาขา” บริการที่ยืดหยุ่นสำหรับทุกขั้นตอนการทำงานของคุณ ไม่ว่าคุณจะทำวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกเสร็จมากแค่ไหน เราก็พร้อมจะเข้าไปมีส่วนร่วม ติดต่อสอบถามปรึกษาปัญหาวิจัย 📲 🔹 LINE: @THESISTH 🔹TEL: 063-207-3864 🔹 INBOX: https://m.me/thesisthailand #วิจัยตัวร้าย #รับทำวิจัย #รับทำการบ้าน #วิจัยปี4 #วิจัยปโท #รับทำวิทยานิพนธ์ #วิทยานิพนธ์