งานวิจัยเผย : พบเบาะแสใหม่ ที่มาของอาการ “ลองโควิด” ผ่านการตรวจ MRI

งานวิจัยเผย : พบเบาะแสใหม่ ที่มาของอาการ "ลองโควิด" ผ่านการตรวจ MRI

จากการศึกษาทางการแพทย์แลนเซต เรสพิราทอรี เมดิชิน (Lancet Respiratory Medicine) นี้ระบุว่า แนวโน้มมีสูงกว่าสามเท่าที่จะพบอาการความผิดปกติของอาการ “ลองโควิด” นักวิจัยหลายคนเชื่อว่า มีส่วนเกี่ยวข้องกับความรุนแรงของอาการป่วยระหว่างติดเชื้อโควิด-19 อย่างไรก็ตาม ทีมวิจัยก็หวังว่า ผลการวิจัยที่ได้จะสามารถช่วยให้พัฒนาวิธีการรักษาอาการลองโควิดได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ในขณะนี้ สำหรับวิธีการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ คณะวิจัยได้สแกนตรวจอวัยวะภายในที่สำคัญของผู้ป่วยติดเชื้อโควิด-19 จำนวน 259 ราย ด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) ภายหลังออกจากโรงพยาบาล 5 เดือน เพื่อเปรียบเทียบให้เห็นความแตกต่างกับกลุ่มผู้ที่ไม่เคยติดเชื้อโควิด-19 จำนวน 52 คน

.

ผลการศึกษาที่ได้ทำให้พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ โดยเฉพาะผลกระทบต่อปอด ที่มีแนวโน้มทำให้เกิดภาวะผิดปกติสูงถึง 14 เท่า ส่วนผลกระทบต่อสมองมีถึงสามเท่า และผลกระทบต่อไตถึงสองเท่า ในบรรดากลุ่มผู้ป่วยติดเชื้อโควิด-19 รุนแรง อย่างไรก็ตาม ยังมีข่าวดีที่ยังไม่พบว่า มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญต่อหัวใจและตับ ดร.เบตตี รามาน จากมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ดในสหราชอาณาจักร หนึ่งในคณะทำงานวิจัยครั้งนี้ ระบุว่า นี่เป็นสัญญาณชัดสำหรับกลุ่มผู้ที่มีอาการลองโควิด มีแนวโน้มอวัยวะภายในบางส่วนจะถูกทำลาย โดยปัจจัยสำคัญมาจากทั้งเรื่องอายุของผู้ป่วยขณะที่ติดเชื้อโควิดอย่างรุนแรง และปัจจัยที่มาจากโรคแทรกซ้อนในขณะที่ติดเชื้อโควิด ผลการวิจัยนี้ เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาผลกระทบภายหลังการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่ตีพิมพ์ในวารสารเนเชอร์ เมดิซิน โดยนักวิจัยพบว่ามีอาการบางอย่างสัมพันธ์กับสัญญาณความเสียหายที่เกิดขึ้นในอวัยวะภายใน ซึ่งตรวจพบผ่านการสแกน MRI เช่น อาการแน่นหน้าออกและไอ มีส่วนเกี่ยวโยงกับภาวะผิดปกติภายในปอด

.

อย่างไรก็ตาม ก็ใช่ว่าอาการทั้งหมดที่เกิดขึ้นในผู้ป่วยที่มีอาการลองโควิดจะมีส่วนเกี่ยวโยงโดยตรงกับสิ่งที่พบจากการสแกน MRI ผลการวิจัยล่าสุด เป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้เข้าใจกลุ่มผู้มีอาการที่แตกต่างที่เป็นสาเหตุของอาการลองโควิดได้มากขึ้น

“รายละเอียดในผลการศึกษานี้ที่อาศัยผลการตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นการยืนยันว่า มีการเปลี่ยนแปลงในอวัยวะหลายส่วน ภายหลังการรักษาโรคติดเชื้อโควิดในโรงพยาบาล” และหวังว่าข้อมูลงานวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับคุณ หากคุณสนใจหรือต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องของงานวิจัยนี้สามารถสอบถามกับทาง Thesis Thailand เพราะเรามีผู้เชี่ยวชาญด้านงานวิจัยที่พร้อมซัพพอร์ตคุณ

.

ขอขอบคุณแหล่งข้อมูลจากเว็บ https://www.bbc.com/thai/articles/c72597ne9v1o

Share:

Share on facebook
Facebook
Share on twitter
Twitter
Share on pinterest
Pinterest
Share on linkedin
LinkedIn

ขอคำปรึกษา

Tag : การทำ is จ้างทำ is จ้างทำวิจัย จ้างทำวิทยานิพนธ์ จ้างทํางานวิจัย จ้างทําวิจัย ป.ตรี ราคา จ้างทําวิจัยราคา จ้างทําวิจัยราคาประหยัด จ้างทําวิจัย ราคาเท่าไหร่ จ้างทําวิทยานิพนธ์ จ้างทําวิทยานิพนธ์ราคา จ้างวิจัย ทําวิทยานิพนธ์ ทำงานวิจัย ทำงานวิทยานิพนธ์ บริการรับทำวิจัย รับจัดหน้าวิทยานิพนธ์ รับจ้างทำ is รับจ้างทํางานวิจัย ราคาถูก รับจ้างทํารายงาน รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ รับจ้างทําวิทยานิพนธ์ ราคาถูก รับจ้างเขียนรายงาน รับทำ is รับทำ powerpoint รับทำ spss รับทำ thesis รับทำดุษฎีนิพนธ์ รับทำวิจัย รับทำวิจัยราคาถูก รับทำวิทยานิพนธ์ รับทำสารนิพนธ์ รับทำแบบสอบถาม รับทำโปรเจคจบ รับทํา thesis รับทํางานวิจัย รับทําปริญญานิพนธ์ รับทํารายงาน รับทําวิจัย ป.ตรี รับทําวิทยานิพนธ์ รับทําวิทยานิพนธ์ ป.โท รับทําวิทยานิพนธ์ ราคา รับทําวิทยานิพนธ์ราคาเท่าไหร่ รับทํา สารนิพนธ์ รับแปลงานวิจัย ราคารับทำวิทยานิพนธ์ วิจัย

Table of Contents

On Key

Related Posts

งานวิจัยเผย : อากาศหนาวทำให้อ้วนขึ้น

งานวิจัยเผย : อากาศหนาวทำให้อ้วนขึ้น

จากการศึกษาโดย พญ.ธิดากานต์ รุจิพัฒนกุล หรือ “หมอผิง” ผู้เชี่ยวชาญด้านศาสตร์การชะลอวัยและกูรูด้านสุขภาพบนโซเชียลเน็ตเวิร์ก พบว่า อากาศหนาวอาจส่งผลให้คนเราหิวเก่งขึ้น โดยเฉพาะอาหารแคลอรี่สูง วิจัยในอเมริกาพบว่าคนน้ำหนักขึ้นเฉลี่ย 0.5-1 กก. ในฤดูหนาว เป็นผลจากกินเพิ่มขึ้นและออกกำลังน้อยลง . ผลกระทบที่เกิดต่อร่างกายจากอากาศหนาว ซึ่งอากาศที่หนาวเย็นอาจทำให้อุณหภูมิภายในร่างกายเปลี่ยนแปลงไป จนอาจเกิดความผิดปกติต่าง ๆ ขึ้น โดยเฉพาะในเด็ก ผู้สูงอายุ สตรีมีครรภ์ ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพในระยะยาวอย่างโรคหัวใจ มีปัญหาสุขภาพจิต

หลังอายุ 27 ความสนุกจะหายไป

งานวิจัยเผย : หลังอายุ 27 ความสนุกจะหายไป

จากการศึกษาพบว่ามากกว่าครึ่งของแบบสำรวจ (56%) ยอมรับว่าพวกเขาหมดความรู้สึกสนุกเมื่อก้าวเข้าสู่วัยผู้ใหญ่อายุเฉลี่ย 27 ปี โดย Tropicana ที่ออกมาเรียกร้องการคืนความสนุกสนานให้กับวัยผู้ใหญ่ โดยการสร้างเตียงขนาดใหญ่ยักษ์วางไว้กลางลานหลักของสถานี King’s Cross เพื่อให้ผู้ใหญ่ใช้เป็นแทรมโพลีนกระโดดเล่นกัน และงานวิจัยได้สำรวจจากชาวอังกฤษวัยผู้ใหญ่จำนวน 2,000 คน พวกเขาจำนวนมากกว่าครึ่งกล่าวว่าพวกเขาคิดถึงกิจกรรมช่วงปิดเทอม การตื่นขึ้นมาแบบไม่ต้องนึกถึงภาระ และชีวิตที่ไม่ต้องทำงานเพื่อเลี้ยงดูตัวเอง การได้เงินค่าขนม การวิ่งเล่นในสวน การดูโทรทัศนืหลังเลิกเรียน ก็ติดท็อป 40 กิจกรรมที่ผู้ใหญ่มักนึกถึงในวัยเด็กเช่นกัน หลายคนคิดถึงสิ่งต่าง

งีบหลับช่วงกลางวัน ช่วยป้องกันโรคอัลไซเมอร์ได้

งานวิจัยเผย : งีบหลับช่วงกลางวัน ช่วยป้องกันโรคอัลไซเมอร์ได้

จากการศึกษาจากวารสารวิชาการ Sleep Health โดยคณะนักวิจัยจาก University College London (UCL) และ University of the Republic ในอุรุกวัย เปิดเผยว่า การงีบหลับสั้นๆ ในช่วงเวลากลางวัน อาจเป็นผลดีต่อสุขภาพสมองของมนุษย์ เนื่องจากมันช่วยป้องกันการหดตัวของสมองได้เมื่อคนเรามีอายุมากขึ้นเรื่อยๆ แม้ก่อนหน้านี้จะมีงานวิจัยที่เปิดเผยว่า การงีบหลับนานๆ อาจเป็นอาการเริ่มต้นของโรคอัลไซเมอร์ แต่ในขณะเดียวกันงานวิจัยอื่นๆ ได้ออกมารายงานว่า การงีบหลับสั้นๆ

การลาหยุดยาวจะทำให้เราตายช้าลง

การลาหยุดยาวจะทำให้เราตายช้าลง

จากการศึกษาโดยงานวิจัยที่ได้นำเสนอในการประชุมประจำปีของ European Society of Cardiology ในประเทศเยอรมนี พบว่า การไปเที่ยวพักผ่อนอย่างน้อย 3 ครั้งในหนึ่งปี หรือคิดเป็น 21 วัน จะทำให้อายุยืนกว่า โดยเฉพาะ ‘ผู้ชาย’ ที่ลางาน 3 สัปดาห์หรือน้อยกว่านั้นต่อปี จะมีโอกาสเสียชีวิตมากกว่า 37% เมื่อเทียบกับคนที่ลางานเกิน 3 สัปดาห์จากตารางการทำงาน .